น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

อาหารหลัก 5 หมู่.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
โครงงาน เรื่อง น้ำหมักมะเฟือง สูตร 1 : 3 : 5.
สบู่สมุนไพร.
เรื่อง ไม้ไผ่ในชุมชนของเรา
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
การปักชำ เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้นให้เจริญงอกงามเติบโตต่อไป.
~ ชาเขียว ~.
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
รายการ ZOO MAP Resume โฆษณา..ผัก...
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Next.
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
กล้วย.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
ผลไม้ รักษาโรคได้.
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์ โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
สมาชิกกลุ่ม 6 ชมเชยที่ 6 1.ด.ญ.ชลธิชา สอดศรี เลขที่ 29
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4 เรื่อง สุดยอดมะพร้าว จัดทำโดย น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4

มะพร้าว เป็นพืชยืนต้นชนิด หนึ่ง อยู่ในตระกูลปาล์ม เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล

ลักษณะของมะพร้าวแต่ละสายพันธุ์ 1.มะพร้าวกระทิ

2.มะพร้าวน้ำหอม

3.มะพร้าวทะเล

4.มะพร้าวต้นเตี้ยสีเหลือง

ประโยชน์ที่ได้รับจากมะพร้าว - เปลือกต้นสด แก้เจ็บปวดฟัน และใช้ทาแก้หิด - เนื้อมะพร้าว รับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง ขับปัสสาวะ ขับพยาธิ แก้ไข้ กระหายน้ำ - น้ำมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็นยาระบาย แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ แก้พิษ แก้กระหายน้ำ แก้นิ่ว แก้อาเจียนเป็นโลหิตและบวมน้ำ นอกจากนี้ยังทำเป็นน้ำส้มสายชูใช้ประโยชน์อื่น ๆ อีกมาก - น้ำมันมะพร้าว รสหวานเค็ม รับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง หรือทาเป็นยาแก้กลากเกลื้อน บำรุง หัวใจ แก้โรคผิวหนังต่างๆ ทาแผลน้ำร้อนลวก ทาผิวหนังแตกแห้ง และใช้ทาผม - กะลา เป็นยาแก้ท้องเสีย แก้ปวดกระดูกและเอ็น - ดอก รสฝาดหวานหอม เป็นยาแก้เจ็บปากเจ็บคอ แก้ท้องเสีย แก้ไข้ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ กล่อมเสมหะ บำรุงโลหิต แก้ปากเปื่อย - ราก รสฝาดหวานหอม เป็นยาแก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ หรืออมบ้วนปากแก้เจ็บคอ

ความเป็นมาของมะพร้าว ต้นมะพร้าว จะผลิตรากใหญ่ออกมาเรื่อยๆเพื่อทดแทนรากเดิมที่ตายไปต้นมะพร้าวแต่ละต้นจะมี รากใหญ่อยู่ถึง  2,500 ถึง 3,000 รากหน้าที่ของรากใหญ่นี้มีหน้าที่ลำเลียงอาหารเข้าสู่ลำต้นมากกว่าดูดอาหารโดยตรง เพราะรากใหญ่ห่อหุ้มด้วยเส้นใยซึ่งน้ำซึมผ่านเข้าไปภายในรากไม่ได้ มีเฉพาะส่วนซึ่งอยู่ติดกับปลอก

มะพร้าวทำอะไรได้บ้าง คนไทยคุ้นเคยกับมะพร้าวมาเป็นเวลานาน และใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของมะพร้าว เช่น ผลอ่อนใช้รับประทานสด (น้ำและเนื้อ) เนื้อมะพร้า วจากผลแก่นำไปปรุงอาหารและขนมหลายชนิด และใช้สกัดน้ำมัน กากที่เหลือใช้เลี้ยงสัตว์ น้ำมันมะพร้าวใช้ประกอบอาหาร เนยเทียม แล ะสบู่ เปลือกมะพร้าวนำไปแยกเอาเส้นใยใช้ทำเชือก วัสดุทำเบาะและที่นอน ขุยมะพร้าวใช้ทำวัสดุเพาะชำต้นไม้ กะลาใช้ทำภาชนะ ตักตวงของเหลว (กระจ่า กระบวย ฯลฯ) ทำกระดุม เครื่องประดับ เครื่องดนตรี (ซออู้) ทำเชื้อเพลิง และถ่านกัมมันต์ (มีคุณสมบัติในการด ูดซับสูง) ใบมะพร้าวทั้งอ่อนและแก่ ตลอดจนก้านใบใช้มุงหลังคา เครื่องจักสาร ไม้กวาดทางมะพร้าว ใช้ทำรั้วและเชื้อเพลิง ลำต้นแก่ใช้ในการก่อสร้างประดิษฐ์เครื่องเรือน ยอดอ่อนใช้เป็นอาหาร จั่น (ช่อดอก) มีน้ำหวานรองมาดื่มเป็นน้ำผลไม้หรือทำน้ำตาล หมักท ำเหล้าและน้ำส้น รากใช้ทำยา สีย้อมผ้า และเชื้อเพลิง แต่อย่างไรก็ตามการปลูกมะพร้าวโดยทั่วไปก็เพื่อนำเอาเนื้อมะพร้า วไปประกอบอาหารและสกัดเอาน้ำมันเช่นเดียวกับปาล์ม

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7