Data Type part.III.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Data Type part.II.
รหัสระหว่างกลาง (Intermediate code)
Functional programming part II
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Arrays and Pointers.
Function.
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
C Programming Lecture no. 6: Function.
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
Call by reference.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
อาร์เรย์ (Arrays).
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
โครงสร้าง ภาษาซี.
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
Chapter 11 Instruction Sets: Addressing Modes
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data Type part.III

ชนิดข้อมูลพ็อยเตอร์ (pointer) ชนิดข้อมูลพ็อยเตอร์ ในแต่ละภาษาก็จะกำหนดต่างกัน ภาษา C และ C++ ใช้เครื่องหมาย ‘*’ ภาษา Pascal ใช้เครื่องหมาย ‘^’ Pointer จะทำหน้าที่เก็บตัวเลขที่ระบุตำแหน่งของหน่วยความจำ จะเก็บ null หรือ nill เมื่อยังไม่มีการอ้างอิงตำแหน่งในหน่วยความจำ ทำไมต้องมีพ็อยเตอร์ Indirect addressing Dynamic memory allocation

Pointer (cont) ตัวอย่างการใช้งานอาร์เรย์

Pointer (cont) การประกาศตัวแปรพ็อยเตอร์ ต้องระบุว่าชี้ไปที่ค่าประเภทใด (เช่น int, char, float) เพื่อให้คอมไพเลอร์รู้ว่าตำแหน่งที่อ้างอิงไปนั้นยาวกี่ไบต์ ค่าที่เก็บในตัวแปรพ็อยเตอร์จะเป็นตำแหน่งเริ่มต้นของค่าที่ถูกอ้างอิง

Pointer (cont) การรู้ขนาดของค่าที่อ้างอิงว่ายาวกี่ไบต์ มีความจำเป็นต่อการทำงานของคอมไพเลอร์ โดยเฉพาะในกรณีที่ถูกอ้างอิงเป็นข้อมูลเช่น อาร์เรย์ ในกรณีของการส่งข้อมูลอาร์เรย์ระหว่างฟังก์ชัน ตามข้อกำหนดของภาษา C วิธีการส่งพารามิเตอร์จะเป็นแบบโดยการอ้างอิง (pass by reference) นั่นคือ จะใช้การส่งตำแหน่งเริ่มต้นของอาร์เรย์ไปให้ฟังก์ชัน เช่น...

Pointer (cont)

Pointer (cont) ภาษา C++ นอกจากมีตัวแปรชนิด pointer เพื่ออ้างอิงค่าโดนอ้อมแล้ว ยังมีการกำหนดตัวแปรชนิดใหม่ขึ้นใช้งานเรียกว่า ตัวแปรชนิดอ้างอิง (reference variable) ที่มีการทำงานคล้าย pointer

ชนิดข้อมูลนามธรรม (Abstract data types) Buit_in types User_defined types Complex เป็นชนิดข้อมูลใหม่ ที่สร้างด้วยชนิดข้อมูลพื้นฐานคือ float ซึ่งเมื่อมีชนิดข้อมูล complex ให้ใช้งานแล้ว โปรแกรมเมอร์จะสามารถประกาศตัวแปรได้ดังนี้ complex a, b, c;

Abstract (cont) การสร้างชนิดข้อมูลใหม่ที่สมบูรณ์ ควรจะต้องมีการกำหนดโครงสร้างข้อมูลภายในของชนิดข้อมูลนั้น รวมถึงมีการกำหนดปฏิบัติการที่สามารถกระทำกับข้อมูลเหล่านั้นได้ ซึ่งการกำหนดที่สมบูรณ์นี้เราจะเรียกว่า ชนิดข้อมูลนามธรรม ชนิดข้อมูลนามธรรม (abstract data type) ชนิดข้อมูลที่ผู้ใช้สร้างขึ้นใหม่ ให้มีทั้งส่วนโครงสร้างข้อมูลภายใน (ที่มักจะซ่อนรายละเอียดไว้เป็นการภายใน ไม่อนุญาตให้ผู้ใช้ภายนอกเข้ามาเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขโครงสร้าง) และส่วนปฏิบัติการกับข้อมูล (ที่อนุญาตให้ผู้ใช้ภายนอกเรียกใช้งานได้)

Abstract (cont)