Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
การเคลื่อนที่.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Tacoma Narrowed Bridge
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
พลังงาน.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
Function and Their Graphs
เครื่องเคาะสัญญาณ.
พลังงานภายในระบบ.
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นผิวน้ำ.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator พิจารณาในกรณีที่ จากกฎของ Newton จะได้ว่า หรือ นิยาม ได้สมการการเคลื่อนในรูปแบบมาตรฐาน สมการ (3.5) ซึ่งจาก Appendix C มีคำตอบของสมการคือ สมการ (3.6) หรือ

สามารถ check ได้ว่าเป็นคำตอบของสมการจริงได้ว่า เมื่อ จะได้ว่า และ แต่ สรุปว่า ทำให้สมการ เป็นจริง จึงถือได้ว่าเป็นคำตอบของสมการ (3.5) ดังกล่าว

พิจารณาการเคลื่อนที่ A คือ amplitude หรือ ระยะที่ยืดออกมากที่สุดของสปริง w คือ angular frequency หรือ อัตราเร็วในการสั่น มีหน่วยเป็น rad/sec d คือ phase ที่เกี่ยวข้องกับจุดเริ่มต้น และ ความเร็วเริ่มต้น ของการเคลื่อนที่

พิจารณาพลังงานจลน์ (Kinetic Energy) เมื่อตำแหน่งของวัตถุ ดังนั้นความเร็ว เพราะฉะนั้น Kinetic Energy แต่จากคำนิยาม ดังนั้น สมการ (3.7)

พิจารณาพลังงานศักย์ (Potential Energy) เมื่อตำแหน่งของวัตถุ เพราะฉะนั้น Potential Energy สมการ (3.10) ดังนั้น เมื่อรวมสมการ (3.7) และ (3.10) จะได้ว่า Total Energy) ดังนั้น สมการ (3.11)

พิจารณากราฟของตำแหน่งกับเวลาจะได้ว่า กำหนดให้ คาบ คือ เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ครบ 1 รอบ sine function จะครบ 1 รอบ เมื่อ argument เท่ากับ 360 องศา หรือ สมการ (3.13)

กำหนดให้ ความถี่ คือ จำนวนรอบของการเคลื่อนที่ ต่อวินาที (Hz) สมการ (3.15) ดังนั้น ตัวอย่าง (ข้อ 3.1)

Section 3.3 Harmonic Oscillation ใน 2 มิติ กำหนดให้ขนาดของแรง แปรผันตามระยะจากจุดกำเนิด เมื่อวิเคราะห์การเคลื่อนที่ตามแกน x และ แกน y เป็นอิสระต่อกันจะได้ว่า สมการ (3.19) เพื่อช่วยในการสังเกตการเคลื่อนที่ เราเปลี่ยนสมการ (3.19) ให้กลายเป็น สมการ (3.22) เมื่อ

สามารถจำแนก และตีความ สมการ (3.25) ได้ หลายแบบด้วยกัน ในกรณีที่ การสั่นตามแกน x และ y มีความถี่ต่างกัน เส้นทางการเคลื่อนที่จะเป็นวงปิด ก็ต่อเมื่อ Integer : Integer เรียกว่า “Lissajous Curve”

Section 3.4 Phase Diagram ตัวอย่างโจทย์ เป็นการแสดงสถานะของระบบ โดยใช้ ข้อมูลของ ตำแหน่ง และ ความเร็ว ตัวอย่าง phase diagram ของ simple harmonic oscillator ณ ระดับพลังงานต่างๆกัน ตัวอย่างโจทย์