Ground State & Excited State

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
สมดุลเคมี.
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Photochemistry.
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
Electronic Transition
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
Morse Curve.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
พลังงานอิสระ (Free energy)
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Gas โมเลกุลเรียงตัวอย่างอิสระและห่างกัน
1st Law of Thermodynamics
SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
Atomic Spectroscopy.
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
แนวโน้มของตารางธาตุ.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
(Internal energy of system)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
พันธะเคมี.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
Molecular Ultraviolet/Visible Absorption Spectroscopy
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ground State & Excited State E = hn โมเลกุล A S1 S2 S0 T1 E1 = hn’ E2 = hn’’ โมเลกุล B E3 = hn’’’ Ground State

Eelectronic + Evibrational + Erotational + Enuclear Internal Energy Einternal = Eelectronic + Evibrational + Erotational + Enuclear การเปลี่ยนแปลงพลังงานอยู่ในช่วงพลังงานแสง

เมื่อโมเลกุลดูดกลืนโฟตอน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานในโมเลกุล ดังนี้ DE = hn = (E’elec - Eelec) + [(E’vib - Evib) + (E’rot - Erot) ] มีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับ (E’elec - Eelec) (E’elec - Eelec) >> [(E’vib - Evib) >> (E’rot - Erot) ]

} Etotal = Eelect + Evib + Erot พลังงาน DE1 E2 E1 } V0 V3 V2 V1 DE2 DE3 r0 r1 r2 r3 รูปที่ 2.5 แผนภาพแสดงระดับพลังงานสัมพันธ์แบบ electronic, vibrational, และ rotational ของโมเลกุล

ขบวนการที่ทำให้เกิดสภาวะเร้า 1. Electrical Discharges ให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง ๆ แก่หลอด หรือภาชนะที่บรรจุแก๊สเฉื่อยและไอปรอท อิเล็กตรอนมี พลังงานสูงมาก

ไอออนที่เกิดขึ้นรวมตัวกับ e- ทำให้อะตอมของแก๊สอยู่ที่สภาวะเร้า Ne(g) + e- Ne+ + 2 e - แก๊สแตกตัวเป็นไอออน Ne+ + e- Ne* ไอออนที่เกิดขึ้นรวมตัวกับ e- ทำให้อะตอมของแก๊สอยู่ที่สภาวะเร้า

เกิดการชนกับอะตอมของปรอท Ne* + Hg (g) Ne(g)+ Hg* เกิดการชนกับอะตอมของปรอท มีการส่งผ่านพลังงาน (ET) Hg* Hg (g) + hn อะตอมของไอปรอท “คายแสง” ออกมา

ไดอะแกรมแสดงระดับพลังงาน ของสถานะต่าง ๆ ของปรอท (Hg)

6 (3D2) 6 (3D1) 312.6 313.2 296.7 6 (1P1) 6 (3P1) Energy 253.7 184.9 6 (3P0) 265.4 6 (1S0)

หลอดมีความดันต่ำ Hg (3P1) ฎ Hg(1S0)+253.7 nm ป 10-3 mm Hg Hg (3P1) ฎ Hg(1S0)+253.7 nm Hg (1P1) ฎ Hg(1S0)+184.9 nm แสงที่ได้ ป 95 % เป็นแสงที่มีความยาวคลื่น 253.7 nm และอีก 5 % เป็นแสงที่มีความยาวคลื่น 184.9 nm

95 % 5 % Energy 6 (3D2) 6 (3D1) 312.6 313.2 296.7 6 (1P1) 6 (3P1) 184.9 253.7 6 (3P0) 5 % 265.4 6 (1S0)

ให้มีพลังงานสูงขึ้นไปอีก หลอดมีความดันขนาดกลาง ป 1 บรรยากาศ (760 mmHg) เนื่องจาก Hg(3P1) มีเสถียรภาพมากกว่ากรณีที่มีความดันต่ำ จึงอาจถูกกระตุ้น ให้มีพลังงานสูงขึ้นไปอีก จะคายแสงได้หลายค่าความยาวคลื่น

6 (3D2) 6 (3D1) 312.6 296.7 313.2 6 (1P1) 6 (3P1) Energy 184.9 253.7 6 (3P0) 265.4 6 (1S0)

“EXCIMER” Hg*+Hg (g) Hg2* 2Hg + hn Continuous Wavelength High Pressure Arc (P > 100 atm) Hg*+Hg (g) Hg2* 2Hg + hn “EXCIMER” Continuous Wavelength

“เป็นพื้นฐานของเทคนิค เช่น Pulse Radiolysis 2. Ionization (Ionizing Radiation) “เป็นพื้นฐานของเทคนิค เช่น Pulse Radiolysis หรือ Scintillation Detection” a rays b rays g rays M M+ + e- ionized M* M + hn

n2=e-(E2-E1)/kT จาก Boltzmann’s Distribution Law n1 3. Thermal Activation จาก Boltzmann’s Distribution Law n1 n2=e-(E2-E1)/kT n2 E2 DE = 60 k cal mol-1 (251 kJ mol-1) n1 E1

นั่นคือ มีอนุภาคขึ้นไปอยู่ที่สภาวะเร้าได้ 1% n2 ที่ 7073 Kelvin : ป 0.014 n1 นั่นคือ มีอนุภาคขึ้นไปอยู่ที่สภาวะเร้าได้ 1% ที่ 29 OC (302 Kelvin) RT ป 600 cal = e-100=4 ด 10-46 n2 n1

Planck’s Equation: l DE = hn = h C l = h C = (6.62 ด 10-34 J s)(3.0 ด 108 m s-1) DE (251 ด 103 J mol-1) = 7.919 ด 10-22 nm mol = (7.919 ด 10-22 nm mol) (6.023 ด 1023 mol-1) n2 n1 E1 E2 = 477 nm (ต่อโมเลกุล) DE = 251 k J mol-1 l =477 nm

สมการทั่วไป: DH * hn Chemiluminescence - DH M 4. การเรืองแสงทางเคมี 4. การเรืองแสงทางเคมี Chemical Activation Chemiluminescence M - DH M* M + hn สมการทั่วไป: DH * hn

ปฏิกิริยาที่เกิด chemiluminescence ที่พบ 1) Singlet Oxygen เป็นการคายแสงจากโมเลกุลของออกซิเจนที่อยู่ที่สภาวะเร้า singlet (ส่วนใหญ่ ที่สภาวะเร้า โมเลกุลของออกซิเจนอยู่ที่ triplet) เกิดการเรืองแสงสีแดง “red glow” เช่น การออกซิไดซ์ H2O2 ด้วย Cl2 ในสารละลายเบส

(ET reaction) - ดึงอิเล็กตรอนออกจาก radical anion 2) Electron Transfer Reactions (ET reaction) - ดึงอิเล็กตรอนออกจาก radical anion ของสารจำพวก polynuclear aromatic เช่น carbocyclic หรือ heterocyclic หรือ - เติมอิเล็กตรอนใน radical cation (กรณีนี้ พบน้อยมาก)

Radical มีสภาพเป็นกลาง และ อยู่ที่สภาวะเร้า DPA- + DPACl2 DPA + Cl- + DPAClท DPAClท + DPA- DPA + Cl- + DPA* DPA* DPA + hn ท electron transfer DPA = 9,10-diphenylanthracene DPACl2 = 9,10-dichloro- 9,10-diphenylanthracene

e- transfer + + e- Hydrocarbon Radical anion Reduced oxidizing agent Excited hydrocarbon DPA DPA- DPACl DPA* DPA(Cl-)

- โมเลกุลที่สภาวะเร้ากลับสู่สภาวะพื้น เกิดการ เรืองแสง 3) Peroxide Decomposition - เป็นตัวอย่างการเกิด chemiluminescenceที่ดีที่สุด - ปฏิกิริยาการสลายตัว เกิดผ่าน intermediate dioxatane (O-O) ซึ่งให้ความร้อน ออกมามากมาย มากระตุ้น โมเลกุล ให้อยู่ในสภาวะเร้า - โมเลกุลที่สภาวะเร้ากลับสู่สภาวะพื้น เกิดการ เรืองแสง

* hn hn DH ฎ * มีพลังงานมากกว่า ketone ที่สภาวะพื้น 90 kcal mol-1 + CH3 CH3 CH3 CH3 CH3 CH3 CH3 CH3 มีพลังงานมากกว่า ketone ที่สภาวะพื้น 90 kcal mol-1 และมีพลังงานมากกว่า excited singlet: 85 kcal mol-1 excited triplet: 78 kcal mol-1 O* * hn O C hn C + CH3 CH3 CH3 CH3