บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
การหาปริพันธ์ (Integration)
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วงรี ( Ellipse).
Recursive Method.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)

3.1 ลำดับและลิมิตของลำดับ (Sequences and Limit of Sequences) เมื่อกล่าวถึงลำดับ โดยทั่วไปจะนึกถึงจำนวนที่เขียนเรียงๆกันมี ตัวที่ 1 ตัวที่ 2 ตัวที่ 3 และต่อๆไป ตัวอย่างเช่น 1, , , , . . . , , . . . –1, 1, –1 , 1, … , (–1)n, ... 2, 4, 6, 8, …, 2n, ...

บทนิยาม 3.1.1 ลำดับจำนวนจริง เป็นฟังก์ชันจากเซตของจำนวนนับ ไปยังเซตของจำนวนจริง ตัวอย่างลำดับ และรูปแบบลำดับที่กำหนดโดยพจน์ที่ n ลำดับ = 1 , , , , . . . , , . . . เขียนเป็นรูปแบบทั่วไป = ลำดับ = 0, 2, 0, 2, …, 1 + (–1)n, ...

ตัวอย่างลำดับ และรูปแบบลำดับที่กำหนดโดยพจน์ที่ n เขียนเป็นรูปแบบทั่วไป = ลำดับฟีโบนัคซี (Fibonacci sequence) ซึ่งนิยามดังนี้ f = เมื่อ f1 = 1, f2 = 1, fn+1 = fn–1 + fn ( n  2 ) ลำดับนี้ คือ 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, …

กำหนด = 1 , , , , . . . , , . . . พิจารณาลำดับต่อไปนี้ (1) 1 , , , , …, , ... (2) , , , , …, , ... (3) 1 , , , , …, , ...

บทนิยาม 3.1.2 ถ้า s = เป็นลำดับของจำนวนจริง และ a = เป็นลำดับของจำนวนเต็มบวก ที่ a( i ) < a( j ) เมื่อ i < j ( i, j ) แล้วจะเรียกฟังก์ชัน ประกอบ sa ว่าเป็น ลำดับย่อย (subsequence) ถ้า a :  โดยที่ a( i ) = ai และ ai < aj เมื่อ i < j สำหรับ i, j และ s :  โดยที่ s( n ) = sn

sa( i ) = s( a( i ) ) = s( ai ) = สำหรับ i  sa( i ) = = , , , ...

ลิมิตของลำดับ (Limit of Sequences) ลำดับบางลำดับมีลิมิต บางลำดับไม่มีลิมิต เช่น กล่าวว่าเป็นลำดับที่ไม่มีลิมิต 1, 0, 1, 0, 1, … , , . . . 1, , , , , . . . , , . . . 2, 2, 2, 2, 2, …, 2, ... กล่าวว่าเป็นลำดับที่มีลิมิตเท่ากับ 0 กล่าวว่าเป็นลำดับที่มีลิมิตเท่ากับ 2

บทนิยาม 3.1.2 ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง จะกล่าวว่าลำดับ มีลิมิตเท่ากับจำนวนจริง L ก็ต่อเมื่อ แต่ละจำนวนจริงบวก  จะมี จำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | sn – L | <  สำหรับ n  k ลำดับ มีลิมิตเท่ากับ L เราจะเขียนแทนด้วย = L หรือ sn  L เมื่อ n  

ตัวอย่าง 2 กำหนด = 1, , , , , ... , , . . . จงพิสูจน์ว่า = 0 การพิสูจน์ ให้  > 0 จะหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | – 0 | < , n  k พิจารณา | – 0 | = เลือก k ซึ่ง < k

ทำให้ | – 0 | =  < , n  k นั้นคือ = 0 

จากบทนิยามจะเห็นว่าสำหรับแต่ละ  > 0 สามารถเลือก k ที่ใหญ่เพียงพอซึ่งจะทำให้พจน์ที่มากกว่าหรือเท่ากับ k ทำให้อสมการเป็นจริง การเลือก k ในตัวอย่าง 2 ขึ้นอยู่กับ  เช่น ถ้า  = 0.25 เลือก k = 5 ทำให้ | | < 0.25, n  5  = 0.025 เลือก k = 41 ทำให้ | | < 0.025, n  41  = 0.0025 เลือก k = 401 ทำให้ | | < 0.0025, n  401 เป็นต้น มีลำดับบางลำดับที่การเลือก k ไม่ได้ขึ้นกับค่า  ดังตัวอย่าง 3

ตัวอย่าง 3 กำหนด เมื่อ sn = 2 ( n = 1, 2, 3, … ) จงแสดงว่า = 2 การพิสูจน์ ให้  > 0 จะหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sn – 2 | < , n  k เนื่องจาก | sn – 2 | = | 2 – 2 | = 0 < , n สามารถเลือก k = 1 ( ไม่ได้ขึ้นกับ  ) ทำให้ | sn – 2 | <  , n  1 นั่นคือ = 2 

ตัวอย่าง 4 กำหนด โดยที่ sn = 2n เมื่อ n = 1, 2, 3, … จงแสดงว่า ลำดับ ไม่มีลิมิต การพิสูจน์ จะแสดงโดยการขัดแย้ง สมมติให้ = L เลือก  = 1 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sn – L | < 1 , n  k ดังนั้น | 2n – L | < 1 , n  k < n < , n  k

เกิดการขัดแย้ง เพราะ  ,  n  < n นั้นคือ = ไม่มีลิมิต 

ตัวอย่าง 5 ลำดับ = คือลำดับ 0, 2, 0, 2, … จงแสดงว่าลำดับ ไม่มีลิมิต การพิสูจน์ สมมติให้ = L ถ้า  = จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sn – L | < , n  k พจน์ที่ n ของลำดับคือ sn = 1 + (–1)n จึงแยกพิจารณา | 1 + (–1)n – L | ได้ 2 กรณี ถ้า n เป็นจำนวนเต็มคี่ จะได้ | –L | = | L | <

ถ้า n เป็นจำนวนเต็มคู่ จะได้ | 2 –L | < เนื่องจาก 2 = | 2 – L + L |  | 2 – L | + | L | < + = 1 ซึ่งเป็นไปไม่ได้ นั่นคือ ลำดับ ไม่มีลิมิต 

ตัวอย่าง 6 กำหนด = จงพิสูจน์ว่า = 2 การพิสูจน์ ให้  > 0 จะหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | – 2 | < , n  k พิจารณา | – 2 | = | | = | |

ต้องการ <  เนื่องจาก < , n  เพียงพอที่จะพิจารณา <  , n  k เลือก k > ทำให้ | – 2 | <  <  , n  k นั้นคือ = 2 

ทฤษฎีบท 3.1.3 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริงที่ sn  0 ทุก n และ = L แล้ว L  0 การพิสูจน์ จะแสดงโดยใช้การขัดแย้ง สมมติ L < 0 เนื่องจากลำดับ มีลิมิต เลือก  = – > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ที่ทำให้ | sn – L | < – , n  k พิจารณาเฉพาะกรณี | sk – L | < –

ทำให้ลำดับมีพจน์ที่ k ที่น้อยกว่าศูนย์ เกิดการขัดแย้งที่ sn  0 ทุก n sk – L < – sk < < 0 ทำให้ลำดับมีพจน์ที่ k ที่น้อยกว่าศูนย์ เกิดการขัดแย้งที่ sn  0 ทุก n นั่นคือ L  0 