เสรีประชาธิปไตย นิติรัฐ/นิติธรรม หลักการแบ่งแยกอำนาจ เสรีประชาธิปไตย นิติรัฐ/นิติธรรม หลักการแบ่งแยกอำนาจ
รัฐธรรมนูญแบบเสรี/ประชาธิปไตย รับรองสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน <basic rights> รัฐบาลจากการเลือกตั้งเป็นใหญ่ <supremacy of the elected government> สื่อที่เสรี <freedom of the press> ระบอบการเลือกตั้งที่เสรีและเป็นธรรม <free and fair>
เสรีประชาธิปไตย >>> มาจากการประกอบสร้างของ 2 แนวความคิดสำคัญ เสรีนิยม Liberalism ประชาธิปไตย Democracy มีที่มาแตกต่างกัน มุ่งแก้ไขปัญหาคนละชุด ให้ความสำคัญคนละแง่มุม >>> การสร้างสถาบันการเมืองที่แตกต่างกัน
เสรีนิยม <Liberalism> เสรีนิยมในมิติทางการเมือง รัฐบาลที่มีอำนาจจำกัด <limited government> # รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ รัฐบาลมีอำนาจครอบจักรวาล ประชาชนมีสิทธิธรรมชาติที่ต้องได้รับการคุ้มครองจากรัฐ
เสรีนิยมในมิติทางเศรษฐกิจ ควรมอบบทบาทให้กับเอกชน รัฐทำหน้าที่เป็นผู้คุ้มกฎ Laissez faire การทำงานของระบบตลาดที่รัฐไม่ยุ่งเกี่ยวคือกลไกที่มีประสิทธิภาพ
เสรีนิยมในมิติทางศีลธรรม/จิตวิญญาณ การปลดปล่อยพื้นที่ทางความเชื่อซึ่งถูกกำกับไว้ด้วยความคิดทางศาสนาให้กลายเป็นพื้นที่เสรี การกระทำที่เป็นเรื่องศีลธรรมเป็นเสรีภาพของปัจเจกบุคคล ซึ่งจะสามารถตัดสินเลือกในสิ่งที่ดีกว่า Constructive Injuries Religious market
บทบาทของรัฐถูกจำกัด >>> รัฐเฝ้ายาม<Night-watchman State> ป้องกันจากภายนอก ป้องกันจากการกระทำของบุคคลในสังคม ทำงานสาธารณะที่ไม่อาจให้เอกชนทำ
การควบคุมการทำหน้าที่ของรัฐ การสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญนิยม หลักนิติรัฐ/หลักนิติธรรม หลักการแบ่งแยกอำนาจ Due process of law
ประชาธิปไตย <Democracy> ความเสมอภาคและอำนาจสูงสุดของระบอบการปกครองมาจากประชาชน การปกครองโดยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยแบบทางตรงในยุคนครรัฐเอเธนส์ ประชาธิปไตยแบบตัวแทน <ประชาธิปไตยแบบแทนตน>
การเน้นให้ประชาชนเป็นเจ้าของและการเข้ามีส่วนร่วมในการใช้อำนาจของประชาชนทั้งผ่านตัวแทนและด้วยตนเอง ระบบการเลือกตั้ง พรรคการเมือง การปกครองท้องถิ่น ประชามติ การเคลื่อนไหวทางสังคมในรูปแบบต่างๆ
เสรีนิยม รัฐขนาดเล็ก เชิงภาระหน้าที่ เน้นจำกัดอำนาจรัฐ เสรีนิยมใหม่ ประชาธิปไตย เน้นความเท่าเทียม ปกครองเสียงข้างมาก
เสรี/ประชาธิปไตย คือการประกอบสร้างระหว่างสองแนวคิดสำคัญ ภายใต้เงื่อนไข สถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกตะวันตก แต่เมื่อประกอบสร้างในดินแดนอื่นๆ เสรีที่ไม่สู้จะประชาธิปไตย <Liberal semi-democracy> ประชาธิปไตยไม่เสรี <Authoritarian democracy>
เงื่อนไข/บริบท ประชาธิปไตยไม่เสรี (Illiberal democracy) มีการเลือกตั้ง แต่ไม่มีเสรีภาพ เช่น สิงคโปร์ เสรีไม่ประชาธิปไตย (อัตตาธิปไตย Liberal Autocracy) มีการตรวจสอบรัฐบาล และการเลือกตั้งแต่เป็นการเลือกตั้งแบบไม่เป็นประชาธิปไตย เช่น ระบบ 70/30
นิติรัฐ <Rechtsstaat ในภาษาเยอรมัน> ผู้ปกครองต้องไม่ใช้อำนาจตามอำเภอใจ บุคคลต้องเสมอภาคกัน และกฎหมายต้องกำหนดสิทธิและหน้าที่ของบุคคลไว้ล่วงหน้า ฯลฯ รัฐที่ปกครองโดยกฎหมาย ไม่ใช่มนุษย์ <government of law and not of men> คือการจำกัดอำนาจของรัฐ/ผู้ปกครอง
รัฐต้องผูกพันตนเองกับกฎหมายที่องค์กรของรัฐตราขึ้นตามกระบวนการของรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติว่าด้วยสิทธิเสรีภาพต้องถูกบัญญัติไว้ในระดับรัฐธรรมนูญ >>> สร้างระบบให้มีการปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นการเฉพาะ >>> ศาลรัฐธรรมนูญ
นิติธรรม <Rule of Law> โดยทั่วไปหมายถึงหลักคุณค่าบางอย่างที่อยู่เหนือกว่ากฎหมายรัฐ, ลายลักษณ์อักษร, มนุษย์ ถูกใช้เพื่อโต้แย้งกับอำนาจเผด็จการ, ผู้ปกครองอำนาจนิยม, ตามอำเภอใจ แต่อาจมีความคลุมเครือ, ลื่นไหล, แตกต่างกันออกไป
A.V. Dicey <1835 – 1922> บุคคลจะถูกลงโทษเมื่อฝ่าฝืนกฎหมาย และถูกตัดสินโดยศาลปกติ บุคคลอยู่ภายใต้กฎหมายเสมอกัน สิทธิพื้นฐานของบุคคลเป็นผลจากคำวินิจฉัยของศาล/กฎหมายปกติ
>>> ภายใต้รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ คือการสร้างหลักประกันแก่ประชาชน >>> แต่ภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงของรัฐ สู่รัฐสวัสดิการ ทำให้ rule of law แบบ Dicey ล้าสมัยไป ทำให้มีการตีความให้สัมพันธ์กับสิทธิมนุษยชนมากขึ้น
เนื้อหาของหลักการภายใต้อิทธิพลของเสรีนิยม เสรีภาพจากอำนาจรัฐ Freedom from State การตรวจสอบถ่วงดุล Check and balance การป้องกันการใช้อำนาจแบบฉ้อฉล Preventing abuse of powers
https://www.youtube.com/watch?v=yIU44EU2abI
จากหลักแบ่งแยกอำนาจสู่ระบบรัฐบาล แนวคิดพื้นฐาน การปกครองควรมีการจำแนกองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐออกเป็นแต่ละส่วน ความเข้าใจที่คุ้นเคยกันในปัจจุบัน บริหาร (Executive power) นิติบัญญัติ (Legislative power) ตุลาการ (Judicial power)
Montesquieu The Spirit of the Law เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย Book xi Chapter vi
รัฐแต่ละรัฐจะประกอบไปด้วยอำนาจ 3 ประเภท อำนาจนิติบัญญัติ บริหาร และอำนาจบริหารซึ่งขึ้นอยู่กับสิทธิของเอกชน อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจที่ใช้โดยผู้ครองรัฐเพื่อบัญญัติกฎหมายขึ้นบังคับใช้ภายในรัฐ ซึ่งอาจบัญญัติขึ้นใหม่หรือยกเลิกกฎหมายเดิม อำนาจบริหาร เป็นอำนาจที่ผู้ครองรัฐสามารถใช้ในเรื่องความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ เช่น การทำสงคราม การรักษาความมั่นคง เน้นในเรื่อง คสพ. รปท. (executive power of the state)
อำนาจบริหารซึ่งขึ้นอยู่กับสิทธิของเอกชน หรือ power of judging ทำหน้าที่ชี้ขาดว่า กม. ที่บังคับใช้ในกรณีพิพาทมีอยู่อย่างไร (ยังไม่ได้เรียกอย่างชัดเจนว่า “อำนาจตุลาการ”) ควรเป็นคณะบุคคลที่มาจากประชาชน และปฏิบัติหน้าที่ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ “ผู้พิพากษาควรเป็นปากที่เปล่งถ้อยคำของกฎหมาย” (อาจมีข้อโต้แย้งเรื่องความเข้าใจผิดต่อระบบการปกครองของอังกฤษของ Montesquieu)
ถ้าอำนาจบริหาร และนิติบัญญัติ ถูกรวมไว้ในบุคคลหรือคนกลุ่มเดียว สิทธิเสรีภาพของประชาชนจะถูกทำลาย ถ้าอำนาจตุลาการ ถูกใช้โดยอำนาจบริหารหรือนิติบัญญัติ สิทธิเสรีภาพของประชาชนก็จะถูกทำลายไป การแบ่งแยกอำนาจแบบเด็ดขาด/ การแบ่งแยกอำนาจแบบไม่เด็ดขาด
Montesquieu https://www.youtube.com/watch?v=x8QaGc-vpcU The Spirit of the Law Check and balance Executive power Legislative power Judicial power
Separation of powers in South Africa https://www.youtube.com/watch?v=BXXv3QrH4qs
เป้าหมายของการแบ่งแยกอำนาจ การจัดสรรอำนาจ (Allocation of Powers) ไม่ให้ก้าวก่ายขอบเขตของอำนาจอื่นและป้องกันการรวมอำนาจทั้งสาม คืออำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ มิให้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของอำนาจใดอำนาจหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว เชิงโครงสร้างองค์กร (Structural Features) เพื่อป้องกันการรวมอำนาจของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด โดยการกำหนดคุณสมบัติของผู้ดำรงตำแหน่ง และกำหนดระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสมาชิกแต่ละฝ่ายให้แตกต่างกัน