X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
STEREOCHEMISTRY STEREOCHEMISTRY
Advertisements

ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
3. Hinzberg test เป็นปฏิกิริยาของ Amines
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
Mass Spectrum of three isotopes of neon.
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ว เคมีพื้นฐาน ธาตุแทรนสิชัน และสารประกอบเชิงซ้อน
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
มวลอะตอม (Atomic mass)
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
โครงการ ประชุมเชิง ปฏิบัติการ ขยายเครือข่าย เรื่อง... “ การจัดระบบบริการ แบบครบวงจร ( o ne s top c risis c enter) สำหรับเด็กและสตรีที่ได้รับ ความรุนแรง.
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
อะตอม คือ?.
กรด-เบส Acid-Base.
เคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘
พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี ชุดที่2 อ.ศราวุทธ 11/18/2018.
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
Covalent B D O N.
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกในอดีต
แก๊ส(Gas) สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว (ผลึกเหลว) แก็ส
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
World Time อาจารย์สอง Satit UP
โครงสร้างอะตอม.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
(Introduction to Soil Science)
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
การจัดหมวดหมู่หนังสือ (Book Classification)
การรายงานแผนและผลการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศ CAD_CA
อุตสาหกรรมการผลิตและ การใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์
ดร. อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Periodic Atomic Properties of the Elements
กรด - เบส ครูกนกพร บุญนวน.
ชั่วโมงที่ 6–7 พันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ตารางธาตุ.
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
“Khemie ... Easy Easy and Child Child.”
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
ตารางธาตุ.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
สิทธินำคดีมาฟ้องระงับ
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
Nuclear Symbol kru piyaporn.
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
ตัวอย่างที่ 2.11 วิธีทำ.
การประชุมชี้แจงแนวทางการกรอกข้อมูล เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะสำหรับกรุงเทพมหานคร โดย คณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในเครือข่ายการวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z เลขอะตอม (Atomic number) ใช้สัญลักษณ์ Z หมายถึง ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนที่มีอยู่ในนิวเคลียส เลขมวล (Mass number) ใช้สัญลักษณ์เป็น A หมายถึง ผลรวมของจำนวนโปรตอน และจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียส สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (Nuclear symbol) เป็นสิ่งที่ใช้เขียนแทนโครงสร้างของอะตอม โดยที่ X คือ สัญลักษณ์ของธาตุ A คือ เลขมวล Z คือ เลขอะตอม A Z X

ตัวอย่างที่ 1 Cl จงหาจำนวนโปรตอน, อิเล็กตรอน และนิวตรอนของอะตอมของธาตุ 35 17 Cl

ตัวอย่างที่ 2 จงหาจำนวนอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ของธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ดังต่อไปนี้ , , 23 11 235 92 12 6 Na U C

ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ A ที่มี 16 อิเล็กตรอน และมีนิวตรอน 16 เท่ากัน

ตัวอย่างที่ 4 จงหาอนุภาคมูลฐานของธาตุ หรือไอออนต่อไปนี้ ธาตุ/ไอออน จงหาอนุภาคมูลฐานของธาตุ หรือไอออนต่อไปนี้ ธาตุ/ไอออน อนุภาคมูลฐาน 11 23 Na 11 23 N a + 35 80 Br 35 80 B r – 13 27 X 3+ 34 79 Y 2– a b M c– Z A N b+ p+   n e –

ตัวอย่างที่ 5 จงทำตารางให้สมบูรณ์ ธาตุ เลขมวล เลขอะตอม จำนวน โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน สัญลักษณ์นิวเคลียร์ O 16 8 P3- 31 18 K 20 19 Ne 10 Rb+ 85 37

ไอโซโทป ไอโซโทป (Isotope) หมายถึง อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีโปรตอนเท่ากัน (หรืออิเล็กตรอนเท่ากัน ) แต่มีเลขมวลและจำนวนนิวตรอนต่างกัน (หรือมีมวลต่างกัน) เช่น ไอโซโทปของธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป ดังนี้

ไอโซโทป ปัจจุบันมีการใช้ไอโซโทปเพื่อประโยชน์ในทางด้านต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ใช้ C – 12 เป็นมาตรฐานเปรียบเทียบในการหามวลอะตอมของธาตุต่าง ใช้ C – 14 บอกอายุของวัตถุโบราณ และใช้ศึกษากลไกของการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใช้ Na – 24 ในการแพทย์เพื่อตรวจวงจรของโลหิต ใช้ Co – 60 สำหรับเป็นแหล่งกำเนิดรังสีแกมาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ คือใช้รักษาโรคมะเร็ง ใช้ I – 131 สำหรับตรวจอาการผิดปกติของต่อมไทรอยด์ เป็นต้น

ไอโซโทน ไอโซโทน (Isotone) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันที่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน แต่มีเลขมวล และเลขอะตอมไม่เท่ากัน เช่น O F เป็นไอโซโทนกัน มีนิวตรอนเท่ากันคือ n = 10 ไอโซบาร์ (Isobar) หมายถึง ธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน แต่มีมวลอะตอมและจำนวนนิวตรอนไม่เท่ากัน เช่น P Si มีเลขมวลเท่ากันคือ 30 18 19 8 9 30 30 15 14

ตัวอย่างที่ 1 จงเลือกธาตุที่เป็นไอโซโทป ไอโซบาร์ และไอโซโทน จากธาตุที่กำหนดให้ต่อไปนี้

แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงหาจำนวนของอิเล็กตรอนที่มีมวลรวม 1 กรัม 1. จงหาจำนวนของอิเล็กตรอนที่มีมวลรวม 1 กรัม 2. จงหามวลของอิเล็กตรอนจำนวน 12.04 x 1023 อิเล็กตรอน 3. ถ้าโมเลกุลของน้ำ ประกอบด้วยไฮโดรเจน 2 อะตอมและออกซิเจน 1 อะตอม เขียนสูตร แสดงได้เป็น H2O เมื่อไฮโดรเจนคือโปรเทียม จงเขียนสูตรของน้ำโดย แทนอะตอมของ ไฮโดรเจนด้วยดิวทิเรียมและทริเทียม 4. จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของไอโซโทปต่างๆของธาตุ X ซึ่งมี 9 อิเล็กตรอน และ มีนิวตรอน 9 ,10 และ 11 ตามลำดับ 5. ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็น 3 เท่าของประจุในนิวเคลียสของ ไฮโดรเจน และ มีเลขมวลเป็น 7 เท่าของมวลไฮโดรเจน ไอโซโทปนี้จะมีอนุภาคมูลฐาน อย่างละเท่าใด