Array: One Dimension 886201 Programming I 9.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
Advertisements

Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Operator of String Data Type
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การใช้งาน Microsoft Excel
การใช้งาน Microsoft Excel
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (while, do-while)
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การทำ Normalization 14/11/61.
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมเบื้องต้น
Array.
บทที่ 10 อาร์เรย์ (Array)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
BC320 Introduction to Computer Programming
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
โครงสร้างภาษา C Arduino
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
BC320 Introduction to Computer Programming
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
Week 5 C Programming.
คำสั่งวนรอบ (Loop).
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array Sanchai Yeewiyom
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Array: One Dimension 886201 Programming I 9

Array คืออะไร ตัวแปรแถวลำดับ ชุดของตัวแปรหลายๆ ตัว มีชนิดข้อมูลเดียวกัน มีชื่อเรียกเดียวกัน การอ้างถึงตัวแปรแต่ละตัวทำโดยอ้างถึง ชื่อและตำแหน่ง (index) ของตัวแปร

ใช้ตัวแปรแถวลำดับทำอะไร เหมือนตัวแปรทั่วไป คือ เก็บข้อมูลโดยที่ ข้อมูลที่เก็บจะ เป็นชุด ใช้แทนสิ่งที่คล้ายๆ กัน มีชนิดข้อมูลเหมือนกัน นำไปใช้ด้วยวิธีคล้ายๆ กัน ตัวอย่าง รหัสนิสิตของนิสิตในห้องนี้ คะแนนสอบวิชา 886201 ของนิสิตในห้อง นี้ เกรดวิชา 886201 ของนิสิตในห้องนี้

Array คือ โครงสร้างข้อมูลรูปแบบหนึ่ง สำหรับเก็บ ข้อมูลประเภทเดียวกัน ในลักษณะแถวที่มีช่อง เก็บข้อมูลหลายๆช่องเรียงต่อกันไปใน หน่วยความจำ อาร์เรย์ทั้งแถวมีชื่อกำกับ a แสดงถึง อาร์เรย์ a มี 4 ช่อง เก็บข้อมูลได้ 4 ตัว การจะใช้ข้อมูลในช่องใด ทำได้โดยอาศัยการ อ้างถึงเลขลำดับ (index) index จะเรียงจากซ้ายไปขวาเริ่มนับช่องแรกที่ 0 เสมอ เช่น 0, 1, 2, 3 เมื่อต้องการใช้ข้อมูลช่องที่ k ของ อาเรย์ a ให้เขียน d[k] จากตัวอย่าง a[0] = 30 , a[1] = 15, a[2] = 78 และ a[3] = 43 30 15 78 43

Array ขนาดหรือความยาวของอาร์เรย์ คือจำนวนข้อมูลที่เก็บอยู่ในอาร์เรย์แถว นั้น เช่น อาเรย์ยาว 4 (เก็บข้อมูลได้ 4 ตัว) 1 2 3 6 1 7 9

ที่มา : วงศ์ยศ เกิดศรี Computer Programming using Java มิติของอาร์เรย์ สามารถมีได้ไม่จำกัด เช่น หนึ่งมิติ สองมิติ สามมิติ n มิติ ที่มา : วงศ์ยศ เกิดศรี Computer Programming using Java ในสัปดาห์นี้จะนำเสนอเฉพาะอาร์เรย์ 1 มิติก่อน

การประกาศตัวแปร Array เช่น int score[5]; ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[ขนาด]; score [0] [1] [2] [3] [4] int index value

การอ้างถึงข้อมูลใน Array เช่น int score[5]; ชื่อตัวแปร[ตำแหน่ง] score [0] [1] [2] [3] [4] int index value score[0] score[1] score[2] score[3] score[4]

การประกาศตัวแปร Array และกำหนดค่า int score[5]; score[0] = 5; score[1] = 20; score[2] = 12; score[3] = 7; score[4] = 30; score [0] [1] [2] [3] [4] int index value score [0] [1] [2] [3] [4] 5 20 12 7 30 index value

การประกาศตัวแปร Array และกำหนดค่า ประกาศตัวแปร array ระบุขนาด(n) พร้อม กับกำหนดค่าทั้งหมด เช่น int score[5] = {5, 20, 12, 7, 30}; ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[ขนาด] = {ค่าที่1, ค่าที่2, …, ค่าที่n}; score [0] [1] [2] [3] [4] 5 20 12 7 30 index value

การประกาศตัวแปร Array และกำหนดค่า ประกาศตัวแปร array ระบุขนาด(n) พร้อม กับกำหนดค่าส่วนแรก เช่น int score[5] = {0, 20, 12}; ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[ขนาด] = {ค่าที่1, ค่าที่2, …, ค่าที่n}; score [0] [1] [2] [3] [4] 20 12 index value

การประกาศตัวแปร Array และกำหนดค่า ประกาศตัวแปร array ระบุขนาด(n) พร้อม กับกำหนดค่าส่วนแรก เช่น int score[5] = {0}; ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[ขนาด] = {ค่าที่1, ค่าที่2, …, ค่าที่n}; score [0] [1] [2] [3] [4] index value

การประกาศตัวแปร Array และกำหนดค่า ประกาศตัวแปร array ไม่ระบุขนาด พร้อมกับกำหนดค่า เช่น int score[ ] = {5, 20, 12, 7, 30}; ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[ ] = {ค่าที่1, ค่าที่2, …, ค่าที่n}; score [0] [1] [2] [3] [4] 5 20 12 7 30 index value

การอ้างถึงข้อมูลใน Array int score[ ] = {5, 20, 12, 7, 30}; cout<<score[0]; cout<<score[2]; cout<<score[4]; score [0] [1] [2] [3] [4] 5 20 12 7 30 index value

การอ้างถึงข้อมูลใน Array int score[ ] = {5, 20, 12, 7, 30}; score[0] = 40; score[2] = score[3]; score[4] = score[2] + 10; score [0] [1] [2] [3] [4] 40 20 7 17 index value

กำหนดขนาดตัวแปร Array เป็นค่าคงที่ การกำหนดขนาด Array เป็นค่าคงที่ต้อง ใช้ const ตัวอย่าง const int n = 5; int score[n] = {5, 20, 12, 7, 30}; score [0] [1] [2] [3] [4] 5 20 12 7 30 index value

สายอักขระ สายอักขระ (string) คือกลุ่มของตัว อักขระที่เรียงต่อกัน ระบุขนาด พร้อมกำหนดค่าสายอักขระ เช่น char department[5] = “Math”; department [0] [1] [2] [3] [4] M a t h \0 index value

สายอักขระ ไม่ระบุขนาด พร้อมกำหนดค่าสาย อักขระ เช่น char department[ ] = “Math”; ไม่ระบุขนาด พร้อมกำหนดค่าทีละตัว อักขระ เช่น char department[ ] = “’M’, ‘a’, ‘t’, ‘h’, ‘\0’”; department [0] [1] [2] [3] [4] M a t h \0 index value

ฟังก์ชันหาขนาดของสายอักขระ : strlen( ) #include <iostream> #include <cstring> using namespace std; int main() { int x; char str1[20]; cout << “Please enter the first string: ”; cin >> str1; x = strlen(str1); cout << “The length of this string: ” << x; return 0; } Sample output: Please enter the first string: Hello The length of this string: 5

การประมวลผล array ที่พบบ่อย

การรับข้อมูลชนิดเดียวกัน 8 ตัว int num[8]; cin >> num[0]; cin >> num[1]; cin >> num[2]; cin >> num[3]; cin >> num[4]; cin >> num[5]; cin >> num[6]; cin >> num[7]; int num[8]; for (int i=0; i<8; i++){ cin >> num[i]; }

การรับข้อมูลชนิดเดียวกัน n ตัว int n; cin >> n; int num[n]; for (int i=0; i<n; i++){ cin >> num[i]; }

การค้นข้อมูลใน array a [0] [1] [2] [3] [4] [5] 50 10 70 20 เมื่อมีการเก็บกลุ่มข้อมูล ก็ต้องมีการค้นหา ข้อมูล สมมติให้ โปรแกรมนี้ผู้ใช้จะบอกข้อมูลที่ ต้องการค้นหา จากนั้นโปรแกรมจะแสดง ผลลัพธ์ ดังนี้ ถ้าพบข้อมูลดังกล่าวในแถวอาร์เรย์ จะแจ้งว่า ข้อมูลอยู่ตำแหน่งไหน ถ้าไม่พบข้อมูลในแถวอาร์เรย์นี้ จะคืนค่าเป็น -1 ตัวอย่าง ต้องการค้นหา 10 จากอาร์เรย์ a คำตอบคือ 1 a [0] [1] [2] [3] [4] [5] 50 10 70 20 index value

การค้นหาข้อมูลใน Array [0] [1] [2] [3] [4] [5] 50 10 70 20 index int index = -1; for(int i = 0; i < 6 ; i++ ) { if ( a[i] == 10 ) { index = i; } cout << index; value ต้องการค้นหาเลข 10 ว่าอยู่ในตำแหน่ง(index) ที่เท่าไหร่ ถ้าเลขที่ต้องการหามีหลายตัว โปรแกรมนี้จะแสดงตำแหน่งใด ตำแหน่งแรก หรือ ตำแหน่งสุดท้าย ถ้าต้องการให้แสดงตำแหน่งแรก ที่พบตัวเลขดังกล่าว ต้องแก้ไขโปรแกรมนี้อย่างไร

การค้นหาข้อมูลใน Array int index = -1; for(int i = 0; i < 6 ; i++ ) { if ( a[i] == 10 ) { index = i; } cout << index; a [0] [1] [2] [3] [4] [5] 50 10 70 20 index value ถ้าต้องการนับว่ามีตัวเลข 10 กี่จำนวน ต้องแก้ไขโปรแกรมนี้อย่างไร

การเปรียบเทียบ array เป็นการประมวลผลในลักษณะที่ เปรียบเทียบว่าอาร์เรย์ 2 แถว เหมือนกัน หรือไม่ มีขนาดเท่ากัน และ มีข้อมูลในแต่ละช่อง เหมือนกันแบบช่องต่อช่อง สมมติอาร์เรย์ 2 แถวที่ต้องการ เปรียบเทียบเป็นดังนี้ a b 5 6 2 3 1 5 6 2 3 4

การเปรียบเทียบ array a b for(int i = 0 ;i < 5 ; i++) { if(a[i] != b[i]) { cout<<“No”; return 0; // คำสั่งจบการทำงานของ โปรแกรม } cout<<“Yes”; 5 6 2 3 1 5 6 2 3 4

การหาค่ามากสุดใน array คำตอบ คือ 6 5 6 2 3 1

การหาค่ามากสุดใน array a int max = a[0]; for(int i = 1 ; i < 5 ; i++ ) { if(a[i] > max) { max = a[i]; } cout<<max; 5 6 2 3 1 ถ้าอยากแสดงด้วยว่าตำแหน่ง ของข้อมูลมากสุดอยู่ใน index ที่เท่าไร จะต้องปรับปรุง code อย่างไร