บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Application Development Overview Nithi Thanon Computer Science Prince of Songkla University.
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Lecture no. 5 Control Statements
Program Flow Chart.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Repetitive Instruction
การจำลองความคิด
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Data Structure and Algorithm
การพัฒนาระบบประยุกต์
Chapter 04 Flowchart ผู้สอน อ.ยืนยง กันทะเนตร
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
Programming & Algorithm
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 05 Selection structure ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Introduction to Flowchart
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
ระบบเบิกจ่ายพัสดุครุภัณฑ์
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
“หลักการแก้ปัญหา”.
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
UML (Unified Modeling Language)
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
introduction to Computer Programming
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
ชิ้นงานที่ 1 ( 10 คะแนน ) ( งานเดี่ยว ) นักเรียนเขียนผังงาน Flowchart แสดงกระบวนการดำเนินงานในการสร้างเว็บไซต์
แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คำอธิบาย รายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 รหัสวิชา ง23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การสร้างผังงานโปรแกรม
Programmable Logic Control
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ

การใช้สัญลักษณ์แสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน 1. ภาพรวมของผังงาน 1.1 ความหมายของผังงาน ผังงาน (Flow Chart) ก็คือแผนผัง (Diagram) ที่ใช้แสดงลำดับขั้นตอน ในแง่ของการพัฒนาระบบแล้ว ผังงานก็คือแผงผังที่แสดงการไหลของข้อมูลในแต่ละลำดับการทำงานในระบบ แผนผัง ก็คือรูปภาพหรือสัญลักษณ์ในการสื่อความหมายที่ต้องการใช้คำพูดหรือข้อความ โดยภาพที่ใช้นั้นสามารถสื่อความหมายเดียวกันระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องได้ ข้อมูลดิบ ประมวลผล สารสนเทศ การใช้สัญลักษณ์แสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. ภาพรวมของผังงาน 1.2 ประโยชน์ของผังงาน 1. สามารถใช้แสดงลำดับขั้นตอนได้ชัดเจน 2. สะดวกในการทำความเข้าใจ 3. ใช้แยกแยะแนะค้นหาข้อผิดพลาดต่างๆ ที่มีได้สะดวก 4. เป็นภาษาสัญลักษณ์ในการสื่อสาร จึงไม่ขึ้นกับภาษาทางตัวอักษรหรือคำพูด รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. ภาพรวมของผังงาน 1.3 ความสำคัญของผังงาน 1. ใช้บันทึกหรือเสนอแนวคิด (Idea) ได้สะดวกและรวดเร็วกว่าการบรรยายด้วยภาษาเขียน 2. สามารถแสดงภาพรวมของกระบวนการและองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันได้อย่างครบถ้วน 3. ช่วยให้เกิดแนวคิดเชิงระบบและแนวคิดเชิงตรรกะกับการออกแบบระบบและการแก้ไขข้อบกพร่องจากการออกแบบได้ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. ภาพรวมของผังงาน 1.4 ประเภทของผังงาน 1.4.1 ผังงานระบบ (System Flowchart) เป็นผังงานที่ใช้แสดงขั้นตอนในการทำงานของระบบในลักษณะภาพรวม โดยแสดงทิศทางการทำงานในระบบ ตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่เกิดข้อมูลครั้งแรกและรูปแบบการจัด เก็บข้อมูลนั้น และผ่านระบบย่อยสำหรับการประมวลผลตามลำดับการทำงานที่กำหนดไว้จนได้ผลลัพธ์สุดท้าย และรูปแบบการจัดเก็บผลลัพธ์นั้น ทั้งนี้จะไม่เน้นการทำงานในระบบย่อยว่ามีวิธีการทำงานหรือวิธีการประมวลผลอย่างไร รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ผังงานระบบการประมวลผลการจ่ายเงินเดือนผ่านเช็ค 1. ภาพรวมของผังงาน 1.4 ประเภทของผังงาน 1.4.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) เป็นผังงานที่ใช้แสดงอัลกอริทึม (Algorithm) ของโปรแกรม ในผังงานโปรแกรมจึงแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูลการประมวลผล ตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ฐานข้อมูลพนักงาน คำนวณเงินเดือน พิมพ์เช็ค ผังงานระบบการประมวลผลการจ่ายเงินเดือนผ่านเช็ค รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ผังงานโปรแกรมในการพิมพ์ตัวเลข 0-4 1. ภาพรวมของผังงาน 1.4 ประเภทของผังงาน 1.4.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) ผังงานโปรแกรมในการพิมพ์ตัวเลข 0-4 รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. ภาพรวมของผังงาน 1.5 ข้อจำกัดของผังงาน 1. ผังงานแสดงลำดับความสำคัญของแต่ละขั้นตอนไม่ได้ 2. ระบบที่ซับซ้อนขึ้นจะทำให้ผังงานดูยากขึ้นและต้องใช้เวลาในการจัดทำมากขึ้น 3. ตัวผังงานนำไปใช้งานเป็นระบบไม่ได้ ทำหน้าที่เป็นเพียงพิมพ์เขียวในการพัฒนาระบบเท่านั้น แม้ว่าปัจจุบันจะมีเครื่องมือที่ช่วยแปลงแบบจำลองให้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ แต่ความสามารถก็ยังมีอยู่ค่อนข้างจำกัด รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน 2.1.1 สัญลักษณ์พื้นฐาน (Basic Symbols) เป็นสัญลักษณ์แสดงกระบวนการทำงานโดยทั่วไป โดยส่วนใหญ่แสดงตรรกะการทำงานโดยตรง 2.1.2 สัญลักษณ์ระบบ (System Symbols) แสดงลักษณะการทำงานที่เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์เป็นหลัก 2.1.3 สัญลักษณ์การโปรแกรม (Programming Symbols) แสดงลักษณะการทำงานแบบเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สัญลักษณ์เหล่านี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเขียนผังงานระบบได้ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ภาพสัญลักษณ์พื้นฐาน (Basic Symbols) 2. การเขียนผังงานระบบ 2.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน ภาพสัญลักษณ์พื้นฐาน (Basic Symbols) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ภาพสัญลักษณ์พื้นฐาน (Basic Symbols) 2. การเขียนผังงานระบบ 2.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน ภาพสัญลักษณ์พื้นฐาน (Basic Symbols) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ภาพสัญลักษณ์ระบบ (System Symbols) 2. การเขียนผังงานระบบ 2.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน ภาพสัญลักษณ์ระบบ (System Symbols) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ภาพสัญลักษณ์ระบบ (System Symbols) 2. การเขียนผังงานระบบ 2.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน ภาพสัญลักษณ์ระบบ (System Symbols) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ภาพสัญลักษณ์การโปรแกรม (Programming Symbols) 2. การเขียนผังงานระบบ 2.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน ภาพสัญลักษณ์การโปรแกรม (Programming Symbols) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.2 วิธีการเขียนผังงานระบบ 2.2.1 กฎการเขียนผังงาน การเขียนผังงานไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวทั้งนี้ขึ้นกับลักษณะการทำงานในระบบ แต่โดยส่วนใหญ่มีธรรมเนียมสากลของการแสดงลำดับ (Flow) ในผังงานในทุกๆ ระบบงานว่า “ลำดับการทำงานไหลจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา” รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.2.2 ข้อแนะนำสำหรับการเขียนผังงาน 1. ใช้สัญลักษณ์ที่มีมาตรฐานความเข้าใจเดียวกัน 2. ใช้ขนาดสัญลักษณ์ให้เหมาะสม 3. การเขียนคำอธิบายในสัญลักษณ์ต่างๆ ควรสั้นกระชับ ได้ใจความ 4. แผนภาพที่เขียนขึ้นมาต้องมีลูกศรแสดงทิศทางการทำงานทั้งขาเข้าและออก 5. จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดในผังงานควรมีเพียงอย่างละ 1 จุด 6. ควรเขียนผังงานให้จบภายในหน้าเดียว 7. ควรเลี่ยงจุดตัดกันของเส้นแสดงการไหลของลำดับงาน 8. ควรจัดวางภาพสัญลักษณ์ให้เป็นระเบียบเรียบร้อน ดูสะอาดตา รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ตัวอย่างการใช้งานภาพสัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน 2. การเขียนผังงานระบบ 2.2.2 ข้อแนะนำสำหรับการเขียนผังงาน ตัวอย่างการใช้งานภาพสัญลักษณ์ในการเขียนผังงาน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.3 ลักษณะการเขียนผังงาน 2.3.1 ลักษณะโครงสร้างการเขียนผังงาน 1.โครงสร้างแบบลำดับ รับข้อมูล A กระบวนการ 1 พิมพ์ผลลัพธ์ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.โครงสร้างแบบเลือกทำตามเงื่อนไข มี 2 แบบ คือ 2.โครงสร้างแบบเลือกทำตามเงื่อนไข มี 2 แบบ คือ 1. โครงสร้างแบบเลือก (Selection Structure) เป็นไปตามเงื่อนไข หรือไม่ ? Yes No กระบวนการ 1 กระบวนการ 2 รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.โครงสร้างแบบเลือกทำตามเงื่อนไข มี 2 แบบ คือ 2.โครงสร้างแบบเลือกทำตามเงื่อนไข มี 2 แบบ คือ 2. โครงสร้างแบบกรณี (Case Structure) การกำหนดเงื่อนไข Case 1 Case 3 Case 2 กระบวนการ 1 กระบวนการ 2 กระบวนการ 3 กระบวนการ 4 รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 3.โครงสร้างการทำงานแบบวนรอบหรือทำซ้ำ กระบวนการ 1 เป็นไปตามเงื่อนไข หรือไม่ ? Yes No กระบวนการ 2 รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.3 ลักษณะการเขียนผังงาน 2.3.2 ลักษณะการวาดสัญลักษณ์ 1. แสดงกระบวนงานเชิงตรรกะ การจัดวางภาพสัญลักษณ์ในลักษณะนี้จะเน้นแสดงกระบวนการทำงานเพียงอย่างเดียว เหมาะสำหรับการแสดงลำดับการทำงาน หรือองค์ประกอบในระบบงานเป็นหลักจึงมีความสะดวกในการศึกษาทำความเข้าใจให้ถูกต้องของกระบวนการทำงาน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ผังงานที่เน้นแสดงลำดับการทำงาน 2. การเขียนผังงานระบบ รายการสั่งซื้อ ป้อนข้อมูลลงระบบ งานบันทึกและแก้ไขข้อมูล แฟ้มข้อมูลการขาย ฐานข้อมูลลูกค้า งานปรับปรุงข้อมูลลูกค้า รายงานสรุปเกี่ยวกับลูกค้า ผังงานที่เน้นแสดงลำดับการทำงาน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การเขียนผังงานระบบ 2.3 ลักษณะการเขียนผังงาน 2.3.2 ลักษณะการวาดสัญลักษณ์ 2. แสดงกระบวนงานเชิงปฏิบัติงาน การจัดวางภาพสัญลักษณ์ในลักษณะนี้จะแสดงบุคลากรที่แต่ละกระบวนการ ตำแหน่งการจัดวางสัญลักษณ์จึงถูกแบ่งกลุ่มตามบุคลากรที่ปฏิบัติงาน โดยสิ่งที่นำเข้ากระบวนการประมวลผลแต่ละขึ้นตอน และผลลัพธ์สุดท้าย ผังงานลักษณะนี้จึงแสดงการปฏิบัติงานจริงในแต่ละส่วนงานในระบบการทำงาน เกิดความเข้าใจในด้านกายภาพได้ดีขึ้น รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

ผังงานแสดงลำดับขั้นตอนเบื้องต้นของการถอนเงินที่เคาน์เตอร์ธนาคาร 2. การเขียนผังงานระบบ ลูกค้า เจ้าหน้าที่ ระบบข้อมูล เริ่มต้น ตรวจสอบข้อมูล กรอกฟอร์มขอถอนเงิน ตรวจสอบบัญชี ข้อมูลบัญชี /ยอดคงเหลือ ยอดคงเหลือมากพอ? Yes ปฎิเสธการจ่ายเงิน No การปรับปรุงยอดบัญชี ลงชื่อรับเงิน จบ ผังงานแสดงลำดับขั้นตอนเบื้องต้นของการถอนเงินที่เคาน์เตอร์ธนาคาร รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.1 การรวบรวมข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจระบบ 3.1.1 การศึกษาทำความเข้าใจระบบเดิม ระบบการทำงานเดิมมักจะมีเอกสารกระบวนการทั้งในรูปของคู่มือที่เป็นคำบรรยายทั่วไป และในรูปของผังงานระบบ การเข้าใจความหมายของการใช้ภาพลักษณ์ที่ถูกต้องและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ทำให้ลดระยะเวลาการศึกษาระบบการทำงานลงได้มาก รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.1.2 การบันทึกลักษณะการทำงานลงระบบย่อย บางครั้งการศึกษาทำความเข้าใจกับระบบเดิมไม่สามารถศึกษาจากเอกสารกระบวนการโดยตรง แต่อาจจะได้ข้อมูลที่มาจากการสัมภาษณ์ การสังเกต หรือการศึกษาจากเอกสารที่ใช้ในการปฏิบัติงานของผู้ใช้งานระบบ การบันทึกความเข้าใจด้วยแผนภาพช่วยให้ลดเวลาและมีความชัดเจนในรายละเอียดมากกว่าการบันทึกด้วยภาษาเขียน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.1.2 การบันทึกลักษณะการทำงานลงระบบย่อย บางครั้งการศึกษาทำความเข้าใจกับระบบเดิมไม่สามารถศึกษาจากเอกสารกระบวนการโดยตรง แต่อาจจะได้ข้อมูลที่มาจากการสัมภาษณ์ การสังเกต หรือการศึกษาจากเอกสารที่ใช้ในการปฏิบัติงานของผู้ใช้งานระบบ การบันทึกความเข้าใจด้วยแผนภาพช่วยให้ลดเวลาและมีความชัดเจนในรายละเอียดมากกว่าการบันทึกด้วยภาษาเขียน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน อยากแสดง ความคิดเห็น ยกมือขึ้น อาจารย์เรียกชื่อ หรือไม่ ? ไม่ รออาจารย์เรียกชื่อ ใช้ พูดแสดง ความคิดเห็นให้ผู้อื่นฟัง การบันทึกความเข้าใจของระบบการแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.1.2 การบันทึกลักษณะการทำงานลงระบบย่อย นอกจากการบันทึกภาพรวมแล้ว อาจจะสร้างฟอร์มบันทึกรายละเอียดกระบวนการที่ใช้ในการจดบันทึกความเข้าใจของกระบวนการที่ต้องการศึกษา โดยจดบันทึกสิ่งที่นำเข้าไว้ในคอลัมน์ซ้ายสุด จดบันทึกขั้นตอนหรือวิธีการประมวลผลไว้ที่คอลัมน์กลาง และการจดบันทึกผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไว้ที่คอลัมน์ขวาสุด วิธีนี้ช่วยให้เกิดความสะดวกและเป็นการสร้างระเบียนแบบแผนในการรวบรวมข้อมูลด้วย รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน ฟอร์มบันทึกความเข้าใจของกระบวนการทำงานของระบบ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.1.3 การสื่อสารทำความเข้าใจกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์และออกแบบระบบที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายกลุ่ม ทั้งกลุ่มบุคคลที่เป็นผู้ใช้ระบบและกลุ่มบุคคลที่เป็นทีมงานพัฒนาระบบ และยังรวมไปถึงการบริหารจัดการโครงการพัฒนาระบบ เช่น ข้อตกลงการส่งมอบงาน การวางแผนการดำเนินงานในแต่ละขั้น เป็นต้น รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน ผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบ อธิบายความต้องการของระบบ ช่วยผู้ใช้ในการอธิบายภาพความต้องการ/ประมาณค่าใช้จ่าย สร้างระบบต้นแบบจัดส่งให้ผู้ใช้ ทดสอบระบบต้นแบบว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ ตรงกับความต้องการ หรือไม่ ? สอบถามความเข้าใจเพิ่มเติม/แก้ไขระบบต้นแบบ จัดส่งระบบต้นแบบที่แก้ไขแล้วให้กับผู้ใช้ ใช้ระบบต้นแบบเป็นตัวแบบในการพัฒนาแอปพลิเคชัน (ซอฟต์แวร์) เฉพาะด้าน ใช้ระบบต้นแบบในการพัฒนาระบบจริงต่อไป ผังงานแสดงขั้นตอนการทำงานของการพัฒนาระบบ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.2 การออกแบบระบบการทำงาน การพัฒนาระบบขึ้นมาต้องมีพิมพ์เขียวหรือแม่แบบในการพัฒนา การเขียนผังงานระบบจึงเป็นส่วนหนึ่งของการวิเคราะห์และออกแบบระบบเพื่อแสดงภาพรวมทั้งหมดก่อนเริ่มต้นนำระบบไปใช้งานจริง บางครั้งการพัฒนาระบบมีความจำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขบางส่วนที่ระบุไว้ในผังงาน ก็ต้องมีการปรับปรุงแก้ไขผังงานระบบให้ตรงสภาพปัจจุบันเพื่อนำไปใช้อ้างอิงในงานด้านอื่นๆ ที่จำเป็นต่อไป รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำผังงานระบบมาใช้งาน 3.3 การประยุกต์ใช้งานเชิงระบบด้านอื่น การประยุกต์ด้านนี้มักเป็นการจัดระเบียบสิ่งที่อยู่ในสภาพแวดล้อมของระบบเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานกับระบบงาน เช่น การเขียนผังงานแสดงวิธีที่บุคคลจะติดต่อกับองค์กรโดยแนะนำส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลนั้นๆ หรือผังงานแนะนำวิธีการใช้บริการจากหน่วยงานราชการ เช่น แนะนำขั้นตอนการขอบัตรประจำตัวประชาชนใหม่ เป็นต้น รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ จบการนำเสนอ บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ   รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ