เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย การประชุมวิชาการครั้งที่ 2/2559 เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย Early Life Nutrition Network Thailand วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09.00 – 15.30 น. ณ. ห้องประชุม แผน สิริเวชชะพันธ์ ชั้น 3 อาคารอำนวยการ โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี
2 ขั้วของปัญหาที่ท้าทายวงการสาธารณสุขไทย กำหนดการประชุมวิชาการ 08:00 – 09:00 ลงทะเบียน 09:00 – 09:45 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์และโรคอ้วนในเด็ก: 2 ขั้วของปัญหาที่ท้าทายวงการสาธารณสุขไทย รศ.นพ.วิทยา ถิฐาพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 09:45 – 10:30 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กและผู้หญิงไทย : ปัญหายิ่งใหญ่ที่ต้องรับการแก้ไข รศ. ดร.พัตธนี วินิจจะกูล สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10:30 – 10:45 พักรับประทานอาหารว่าง 10:45 – 11:30 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์: จะป้องกันและตรวจวินิจฉัยได้อย่างไร? รศ.พญ.จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11:30 – 12:15 โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์: จะดูแลรักษากันอย่างไร? พล.ต. หญิง จุฑาวดี วุฒิวงศ์ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า 12:15 – 13:00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13:00 – 13:45 โรคอ้วนในเด็ก: วินิจฉัยอย่างไร เมื่อไรรักษา เมื่อไรส่งต่อ? ผศ.พญ. พัชราภา ทวีกุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 13:45 – 14:30 คลินิกเด็กสุขภาพดี: ช่องทางใหม่เพื่อโภชนาการที่ถูกต้อง รศ.พญ.อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 14:30 – 15:15 เลี้ยงลูกอย่างไรให้ไกลอ้วน รศ.พญ.ลัดดา เหมาะสุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15:15 – 15:30 สรุปการบรรยายและปิดการประชุม โดยคณะวิทยากร
ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด ผู้เข้าร่วมประชุม 239 ท่าน จากโรงพยาบาล/รพ.สต./ หน่วยงานสาธารณสุข 86 แห่งจาก 9 จังหวัด 7 16 73 46 34 24 19 2 18 ผู้เข้าร่วมประชุมตามสาขาวิชาชีพ ผู้เข้าร่วมประชุมตามจังหวัด
ประมวลภาพ (1) วิทยากรและแพทย์ผู้ร่วมประชุม
ประมวลภาพ (2) ผู้เข้าร่วมประชุม
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ 1 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ 1. ความพร้อมของการจัดประชุมวิชาการ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ 2 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ 2. ประเมินผลทางวิชาการที่ได้รับ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ 3 การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ 3. การประเมินผลวิทยากรตามหัวข้อ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้เข้าร่วมประชุม โดยให้ระดับ 5=มากที่สุด 4=มาก 3=ปานกลาง 2=น้อย และ 1=น้อยที่สุด
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ ความชื่นชม อาจารย์เป็นผู้ทรงคุณวุฒิและเอกสารมีคุณภาพมาก เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เนื้อหาโดยรวมในการบรรยายมีความน่าสนใจ เข้าใจง่าย สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง เนื้อหาและวิทยากรรวมทั้งเอกสารดีมากค่ะ จะนำไปพัฒนางานในคลินิก ANC + สุขภาพเด็ก ขอขอบคุณคณะอาจารย์มากๆ ได้ให้ความรู้เล็งเห็นความสำคัญปัญหาของงานสาธารณสุข ในขณะนี้และแก้ไขได้ยากมาก อยากให้มาจัดที่จังหวัดกาญจนบุรีอีกครั้ง ต้องการให้จัดที่จังหวัดนครปฐม บ้างค่ะ ต้องการให้จัดการประชุมปีละครั้ง เพื่อฟื้นฟูความรู้
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ ข้อเสนอแนะ เนื้อหาเยอะมาก น่าจะจัดประชุม 2 วัน ประชุมหัวข้อเดิม เพื่อให้ผู้ที่ปฏิบัติงานที่ไม่สามารถมาในรุ่นนี้ได้รับความรู้อย่างทั่วถึง เพื่อให้นำไปสู่การปฏิบัติต่อกลุ่มผู้รับบริการได้ครอบคลุม ถ้าสามารถรวบรวม PowerPoint ทั้งหมดที่นำเสนอ ออกมาเผยแพร่ได้จะดี บาง Slide ไม่มีในเล่มที่แจ้ง อาจนำขึ้นเวปไซด์หรือแจกเป็น CD ก็ได้ค่ะ ต้องการให้มีการจัดประชุมแบบนี้ต่อไปอีก เพื่อเป็นการฟื้นฟูและได้รับความรู้ใหม่ๆ / อาจารย์ที่มาเป็นวิทยากรบรรยาย ระยะเวลาในการบรรยายน้อยเกินไป สถานที่ไม่เหมาะสมกับปริมาณผู้เข้าร่วมประชุม/ เนื่องจากห้องอาหารแคบหาที่นั่งยาก รายการอาหารไม่เข้ากัน (กลางวัน) ควรจัดเป็นโต๊ะสำหรับการได้เขียนจะสะดวก หรือถ้ามีสถานที่ใหญ่กว่านี้ หัวข้อน่าสนใจมากแต่ระยะเวลาน้อย โดยเฉพาะโลติจางขณะตั้งครรภ์/ควรให้ระยะเวลามากกว่านี้ จะได้มีเวลาในการซักถาม เพราะเป็นสิ่งสำคัญมากๆ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทย ราชวิทยาลัยสูติแพทย์ควรมีเนวทางการดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด เพื่อให้มีแนวปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน
การประเมินผลการประชุมวิชาการจากแบบสอบถามที่ได้รับคืน 190 ใบ หัวข้อการประชุมอื่นๆที่สนใจ เด็กอ้วนใน 0-5 ปี และเด็กวัยเรียน การแก้ปัญหาโภชนาการต่างๆ ในวัยเด็กแต่ละวัย เมนูอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ และให้นมบุตร กินอย่างไรให้ลูกแข็งแรงและฉลาด ทำอย่างไรเด็กไม่ยอมกินผัก อาหารทดแทนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์