สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557 การประชุมเชิงปฏิบัติการผลักดันนโยบาย การสนับสนุนส่งเสริมถุงยางอนามัย สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่ และจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ๒๕๒๘ - ๒๕๗๓ Integration, decentralization, and sustainability Health approach Socio-economic and development approach Getting to Zero ผู้ติดเชื้อที่ยังมีชีวิต 464,086 การที่ประเทศไทยเผชิญกับปัญหาเอดส์มาเกือบ ๓ ทศวรรษ ทำให้สังคมไทยได้ตระหนักและเรียนรู้ว่าการที่จะต่อสู้กับปัญหาเอดส์ได้นั้น หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม เอกชน และชุมชน จำเป็นจะต้องผนึกกำลังกันอย่างเข้มแข็ง และทำงานกันอย่างสอดประสานโดยต่อเนื่อง แนวโน้มการติดเชื้อเอดส์ใหม่รายปีและจำนวนผู้อยู่กับเชื้อเอดส์ยังลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ทั่วโลกกำลังมุ่งสู่ความเป็นศูนย์ และประเทศไทยก็จะเป็นหนึ่งในประเทศแรกๆของโลกที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว 297,879 8,719 ผู้ติดเชื้อรายใหม่ 6,139
ที่มา : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อ้างใน การสาธารณสุขไทย 2551 - 2552
ปี พ.ศ.
พฤติกรรมป้องกันเพิ่มขึ้น การใช้ถุงยางอนามัยถูกต้องและสม่ำเสมอ ประชากร ข้อมูลพื้นฐาน เป้า หมายปี 2562 % การเปลี่ยน แปลง ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย 86% 95% 9% พนักงานบริการหญิง 94% 1% พนักงานบริการชาย 98% 99% ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด 49% 90% 41% ผู้ต้องขัง 40% 50% เยาวชนในสถานพินิจ 17% 30% 13% คู่ของผู้มีเชื้อ N/A 70%
แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ 2557-2559 Zero New HIV Infections จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ Zero AIDS-related Deaths ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ Zero Discrimination กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาได้รับการแก้ไข การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และจำเพาะกับเพศสภาวะ จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิ ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ Innovations and Changes เร่งรัดขยายการป้องกันให้ครอบคลุมพื้นที่ และประชากร ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและคาดว่าจะมีจำนวนการติดเชื้อฯใหม่ มากที่สุด ขยายการปกป้องทางสังคมและปรับเปลี่ยนสภาวะ แวดล้อมทางกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการป้องกันและ การรักษา เพิ่มความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของร่วมใน ระดับประเทศ จังหวัด และท้องถิ่น พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ Optimization and Consolidation ป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด ป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ บริการโลหิตปลอดภัย ดูแลรักษาและการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ ดูแลเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ การสื่อสารสาธารณะ เคารพสิทธิและละเอียดอ่อนเรื่องเพศ เอดส์ไม่ใช่เพียงโรคและความเจ็บป่วย เสริมพลังอำนาจ มุ่งเน้นเป้าหมาย ภาวะผู้นำและเป็นเจ้าของ ภาคีเครือข่ายการทำงาน
ค่าเป้าหมายการดำเนินงานรายปี เป้าหมายลดโรคระดับกรม กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด และแรงงานข้ามชาติ ผู้ต้องขัง คู่ผลเลือดต่าง พื้นที่เป้าหมาย : ทุกจังหวัด : พื้นที่เร่งรัด 33 จังหวัด (กรณีงบฯจำกัด) ตัวชี้วัดระดับกรม ค่าเป้าหมายการดำเนินงานรายปี 2558 2559 2560 2561 2562 ร้อยละของประชากร ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดใน 12 เดือนที่ผ่านมา 1.1 Youth 70 75 78 80 1.2 MSM 95 1.3 FSW 1.4 PWID 2. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ (คน) 256,171 266,162 281,819 297,475 313,131
ส่งเสริมการใช้และพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและ มาตรการและกิจกรรมหลักเกี่ยวกับถุงยางอนามัย สื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างภาพลักษณ์ของ ถุงยางอนามัยให้เป็นอุปกรณ์สุขอนามัยทางเพศ มาตรการที่ 3 ส่งเสริมการใช้และพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและ สารหล่อลื่น สนับสนุนถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น สร้างเครื่องมือและพัฒนาแนวทางการระดม ความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการจัดหาและ กระจายถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น
กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ : ไม่มีผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่, ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเหตุที่เกี่ยวเนื่องกับเอดส์, และ ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ การเข้าสู่ระบบ – การตรวจเอดส์ – การรักษา – การคงอยู่ในระบบ (RECRUIT) (TEST) (TREAT) (RETAIN) กำหนดบริการที่ต่อเนื่องตลอดทั้ง 4 องค์ประกอบ ประเด็นร่วม: การทำให้ระบบเข้มแข็งและการสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน