ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
beauty shoes รองเท้าแตะ รองเท้าส้นสูง รองเท้าส้นเตี้ย รองเท้าบู๊ท
Advertisements

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SEASEASEASEA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การใช้ นโยบายการเงิน ในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทอ่อน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
Art & Architecture Medieval Age
เทพเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทย
คัมภีร์ของศาสนายูดาห์(ยูดาย)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Easter อาจารย์สอง Satit UP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
Longitude & Time อาจารย์สอง Satit UP
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Longitude & Time อาจารย์สอง Satit UP
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
ความรู้พื้นฐานทั่วไป ของศาสนาคริสต์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
สัญลักษณ์/เครื่องหมาย ของศาสนาอิสลาม
คัมภีร์ ของศาสนาคริสต์
ชาติพันธุ์ / เชื้อชาติ อนุทวีปอินเดีย
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สำหรับใช้งานระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
สมณศักดิ์ของผู้นำหรือนักบวชในศาสนา Hierarchy of Church
ศาสนศักดิ์ในศาสนาคริสต์ นิกายตะวันตก(โรมันคาทอลิก)
ดูแลสุขภาพวันละนิดเพื่อชีวิตที่สดใส
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
รายรับ ของรัฐ อาจารย์สอง Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Boundary AJ.2 : Satit UP.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
Education การศึกษาในยุคกลาง
ยุคกลาง : Medieval Age Priest อาจารย์สอง Satit UP.
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
Promised Land อาจารย์สอง Satit UP.
นิกาย ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
PROVINCE AJ.2 : Satit UP.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism ) อาจารย์สอง Satit UP

พราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism ) ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็นศาสนาเก่าแก่ในอนุทวีปซึ่งเกิดขึ้นเป็นศาสนาแรก ๆ ซึ่งต่อมามีอิทธิพลของศาสนาพุทธ เชน และสิกข์ในเวลาต่อมา

พราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism ) ช่วงเวลาเกิดของศาสนา : ประมาณ 1500-2000 ปี ก่อนคริสตกาล (เป็นศาสนาแรกสุด) และเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในอนุทวีปอินเดียด้วย ก่อนศาสนาพุทธ เกือบ 1000 ปี

พราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism ) ประเภทของศาสนา :: เทวนิยม (พหุเทวนิยม) แหล่งกำเนิดของศาสนา : อินเดีย ศาสดา : ไม่ปรากฏ พระเจ้าสูงสุด : พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ คัมภีร์ : พระเวท สัญลักษณ์ทางศาสนา : เครื่องหมาย ” โอม ”

แหล่งกำเนิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ชมพูทวีป ( อนุทวีปอินเดีย )

ชมพูทวีป ( อนุทวีปอินเดีย )

วิวัฒนาการ ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )

พัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ยุคพระเวท ยุคพราหมณ์ ยุคฮินดู

ยุค ลักษณะสำคัญ ยุคพระเวท - ชาวอารยันแบ่งเทพเจ้าออกเป็น 3 กลุ่ม คือ บนโลก บนอากาศ บนสวรรค์ - เช่น พระวรุณ(เทพแห่งฝน) พระวายะ(เทพแห่งลม) พระสุริยะ(เทพแห่งพระอาทิตย์) - เทพเจ้าองค์ใดได้รับการนับถือมากที่สุดก็จะได้รับการยกย่องวาเป็นเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด เรียกว่า “ประชาบดี” (ผู้ใหญ่, ผู้สร้างโลก) พระประชาบดีคือพระพรหม นั่นเอง - มีการสวดสรรเสริญพระเจ้ามากขึ้น พราหมณ์จึงรวบรวมบทสรรเสริญเทพเจ้าไว้ ในคัมภีร์ พระเวท (ชาวอารยันเชื่อว่าฤาษีได้ยินคัมภีร์พระเวทมาจากพระโอษฐ์ของพระเจ้าเลยทีเดียว) ยุคพราหมณ์ - อิทธิพลของพราหมณ์ได้ก้าวถึงขีดสุด - ผูกขาดการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ของศาสนา - มีความสลับซับซ้อน ดูขลัง + ศักดิ์สิทธิ์ - มีความเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิด และการเกิดใหม่ ยุคฮินดู - เกิดเทพเจ้า 3 องค์ เรียกว่า “ตรีมูรติ” 1. พรหม = ผู้สร้างโลก 2. พระนารายณ์หรือพระวิษณุ = ผู้รักษาโลก 3. พระศิวะหรือพระอิศวร = ผู้ทำลายโลก (เพราะมีคนชั่วมาก)

ยุคสมัยลำดับเหตุการณ์โดยละเอียด ยุคสมัยใหญ่ 1. สมัยอริยกะ 950 ปีก่อนพุทธกาล กคศ. 1500 ยุคพระเวท 2. สมัยพระเวท 957-475 ก่อนพุทธกาล กคศ. 1500-1018 3. สมัยพราหมณ์ 257 ปีก่อน พ.ศ.-พ.ศ.43 กคศ. 800-586 สมัยพราหมณ์ 4. สมัยฮินดูเก่า(ฮินดูแท้)และอุปนิษัท 57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล กคศ.600 - 500 5. สมัยสูตร พ.ศ.60-พ.ศ.360 กคศ. 483 - 183 6. สมัยอวตาร พ.ศ. 220-พ.ศ.660 กคศ. 323-คศ. 117 สมัยฮินดู 7. สมัยเสื่อม พ.ศ. 861-พ.ศ.1190 ค.ศ. 318 - 647 8. สมัยฟื้นฟู พ.ศ. 1200-พ.ศ. 1740 ค.ศ. 657-1197 9. สมัยภักติ พ.ศ. 1740- พ.ศ. 2300 ค.ศ. 1197 - 1757

สมัยอริยกะ (950 ปีก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 1500) สมัยอริยกะ (950 ปีก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 1500) - พวกอารยัน เริ่มอพยพเข้าสู่ดินแดนชมพูทวีป เข้าปะปนกับคนพื้นเมือง (มิลักขะ หรือ ทราวิท หรือ ทราวิเดียน)  เจ้าของถิ่นเดิม  - มีการผสมผสานความเชื่อเดิมของคนพื้นเมืองและชนกลุ่มอารยันได้ปรับเทพเจ้าที่ตนนับถือให้เข้ากับเทพเจ้าของชนกลุ่มมิลักขะ 

สมัยอริยกะ (950 ปีก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 1500) สมัยอริยกะ (950 ปีก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 1500) มิลักขะ  นับถือธรรมชาติ คือ  ดิน น้ำ ลม ไฟ เป็นเทพเจ้า และเชื่อว่าประทับอยู่บนภูเขาพระสุเมร  มีพิธีบวงสรวงด้วยไฟ   อารยัน นับถือธรรมชาติ และวิญญาณบรรพบุรุษ   ธรรมชาติที่พวกอริยกะนับถือว่าเป็นเทพเจ้า  ได้แก่  เทพผู้สร้างโลก คือ "อินทร์" เทพผู้ให้ความร้อนและแสงสว่าง คือ "สาวิตรี" เทพผู้ให้ ความเย็นความชุ่มชื้น คือ "วรุณ"เทพผู้ทำลายชีวิตมนุษย์และสัตว์ คือ "ยม" หรือ "มฤตยู"

สมัยพระเวท (957-475 ก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 1500-1018) สร้างเทพเจ้าขึ้นใหม่อีกหลายองค์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ   1. เทพเจ้าแห่งสวรรค์  เช่น ดวงอาทิตย์  ดวงจันทร์    2. เทพเจ้าแห่งท้องฟ้า เช่น วายุ วรุณ    3. เทพเจ้าแห่งพื้นพิภพ  เช่น อัคนี  ธรณี 

สมัยพระเวท (957-475 ก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 1500-1018) - มีพิธีกรรมบูชาเทพเจ้าที่ซับซ้อนมากขึ้น เปลี่ยนไปจาก "พลี" เป็น "บูชายัญ" ด้วยชีวิตสัตว์ - มีการถวายเครื่องดื่มเรียกว่า "น้ำโสม" - ชนชั้นนักบวช(พราหมณ์)ได้รับความเคารพนับถือมาก - พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมทำหน้าที่ควบคุมการบูชายัญให้ถูกต้องตาม คัมภีร์พระเวท - พวกพราหมณ์ได้สร้างตำรา(คัมภีร์)ทางศาสนาฉบับแรกขึ้น คือ "ฤคเวท" - คัมภีร์พระเวท เรียกว่า ศรุติ คือสิ่งที่ได้ยินจากเทพเจ้า (โดยผ่านทางฤาษี) - พราหมณ์กำหนดพระพรหมเป็นเทพเจ้าผู้สร้างโลก สร้างมนุษย์และเป็นบรรพบุรุษ ของพราหมณ์ - เริ่มมีการแบ่งชนชั้นเป็น 3 สถานภาพ คือ นักบวช นักรบ และเกษตรกร

สมัยพราหมณ์ (257-43 ก่อนพุทธกาล หรือ กคศ. 800-586) - พวกอารยันแผ่อำนาจครอบครองอินเดียภาคเหนือได้ทั้งหมด - พวกอารยันเชื่อในความภัคดีต่อเทพเจ้า แต่งบทสวด ทำพิธีบวงสรวง - พวกคนพื้นเมืองอยู่ในอำนาจปกครองของพวกอารยันกำหนดให้พระพรหมเป็นเทพเจ้าสูงสุด - ให้ความสำคัญกับการทำพิธีบูชาเทพเจ้า มากกว่าเดิม

สมัยพราหมณ์ (257-43 ก่อนพุทธกาล หรือ ก่อนค.ศ. 800-586) - สร้างเทพเจ้าขึ้นใหม่อีก 2 องค์ คือ พระศิวะ (เทพแห่งภูเขา) และ พระวิษณุ (เทพแห่งทะเลและมหาสมุทร) - พราหมณ์กลายเป็นผู้ที่ได้รับการนับถือและมีอำนาจสูงสุด ในสังคม(และมีอิทธิพลมากที่สุด) จึงได้ชื่อว่าเป็นสมัยพราหมณ์ - พราหมณ์ได้รับความยกย่องอยู่ในฐานะ สูงสุดยิ่งกว่าพระราชา - พราหมณ์กำหนดพิธีกรรมต่างๆทางศาสนาทั้งของพระราชาและประชาชน - สร้างคัมภีร์ใหม่ 2 คัมภีร์ คือ คัมภีร์อรัณยกะ คัมภีร์อาถรรพเวท ประกอบด้วยคาถาอาคมต่างๆ เกิดลัทธิพราหมณ์นิกายต่างๆเพิ่มขึ้น - แบ่งชั้นวรรณะออกเป็น 4 วรรณะใหญ่ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทร ส่วนวรรณะ สุดท้ายนี้(ศูทร) ได้แก่ พวกมิลักขะ อธิบายไว้ในคัมภีร์พระเวท

สมัยฮินดูเก่า (57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล) สมัยฮินดูเก่า (57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล) - มีการกำหนดความสำคัญของเทพเจ้าต่างๆกันใหม่ตาม ความนิยมของสังคม - ศาสนาพราหมณ์ได้กลายมาเป็นศาสนาฮินดู - พราหมณ์ทั้งหลายร่วมมือกันปรับปรุงลัทธิศาสนาของตนให้ได้รับความนิยมจาก - สถานศึกษาของนักบวชพราหมณ์ได้รับการพัฒนาให้เจริญมากขึ้น ศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่ตักศิลา - สมัยนี้เป็นสมัยแรกที่กำเนิดปรัชญาสำคัญของศาสนาฮินดู พราหมณ์ทั้งหลายเป็นผู้คิดขึ้น

สมัยฮินดูเก่า (57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล) สมัยฮินดูเก่า (57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล) หลักปรัชญาที่สำคัญ เช่น ปรมาตมัน ชีวาตมัน(อาตมัน) กรรมะ อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของพรหมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น พรหมเป็นสิ่งที่มีอยู่ เป็นสิ่งเที่ยงแท้ แต่ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตา มนุษย์ต้องเวียนว่ายตายเกิดในสภาพต่างๆกันเพราะกรรมเก่า (ซึ่งหมายถึงการกระทำทั้งดีและชั่ว) พรหมเป็นศูนย์รวมและเป็นต้นกำเนิดแห่งวิญญาณทั้งปวง สิ่งมีชีวิต ทั้งหลายล้วนถือกำเนิดมาจากพรหม(ปรมาตมัน) ทุกครั้งที่ร่างเดิมแตกดับจากสภาพใดสภาพหนึ่งไปอุบัติในร่างใหม่ เรียกว่า "ภพหรือชาติหนึ่ง"

สมัยฮินดูเก่า (57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล) สมัยฮินดูเก่า (57 ปีก่อน พ.ศ.-ต้นพุทธกาล) วิญญาณเมื่อหลุดพ้นจากภาวะเวียนว่ายตายเกิด ( เรียกว่าโมกษะ ) โลกที่พรหมสร้างมีกำหนดอายุขัย เมื่อครบกำหนดอายุขัยจะมีการล้างโลกแล้วสร้างโลกขึ้นใหม่ ” กัลป์ “

สมัยอุปนิษัท (57 ปีก่อน พ.ศ. - ต้นพุทธกาล) - เป็นสมัยแห่งความพยายามคิดค้นเพื่อ แสวงหาทางหลุดพ้นจากภาวะเวียนว่ายตายเกิด - มีเจ้าลัทธิที่มีความเชื่อแตกต่างกันเกิดขึ้น 4 พวก คือ (1) พวกที่เชื่อผลแห่งญาณคือความรู้แจ้ง (2) พวกที่เชื่อผลของการทำพิธีพลี บูชายัญ (3) พวกที่เชื่อผลของการบำเพ็ญตบะทรมานกายและจิต, และ (4) พวกที่เชื่อว่าสิ่งที่เป็นรูปธรรมทั้งปวงคืออุปสรรคสกัดกั้นมิให้จิตเข้าถึงจุดหมายซึ่งเป็นนามธรรม และเชื่อว่าการที่จะหลุดพ้นจากภาวะการเวียนว่ายตายเกิดนั้น ต้องปฏิบัติด้วยตนเอง

สมัยอุปนิษัท (57 ปีก่อน พ.ศ. - ต้นพุทธกาล) - สร้างคัมภีร์อุปนิษัทว่าด้วยลัทธิปรมาตมันและหลักโมกษะขึ้น (คัมภีร์อุปนิษัท อธิบายสาระสำคัญของพระเวท เป็นปรัชญา อธิบายธรรมชาติ จักรวาล วิญญาณ มนุษย์ กฏแห่งกรรม หลักปฏิบัติ) - วรรณกรรมเรื่อง “ รามายณะ” ( Ramayana ) - วรรณกรรมเรื่อง “ มหาภารตะ” ( Mahabharata )

สมัยอุปนิษัท (57 ปีก่อน พ.ศ. - ต้นพุทธกาล) วรรณกรรมเรื่องรามายณะ (Ramayana) หรือเรื่อง รามเกียรติ์

สมัยสูตร (พ.ศ.60 - พ.ศ.360 หรือ ก่อน ค.ศ. 483-183) สมัยสูตร (พ.ศ.60 - พ.ศ.360 หรือ ก่อน ค.ศ. 483-183) - แต่งต่อเพิ่มเติมจนกลายเป็น "มหาภารตะ" - พราหมณ์ได้จัดทำตำราเรียนสำหรับกุลบุตรพราหมณ์ใช้ศึกษาในโรงเรียนขึ้น ตำราดังกล่าวเป็นบทสรุป(สุตตะหรือสูตร) เรียกว่า "เวทางค์“ จำแนกเป็น 6 สาขาวิชา

สมัยอวตาร (พ.ศ. 220-พ.ศ. 660 หรือ ก่อน ค.ศ. 323- ค.ศ. 117) สมัยอวตาร (พ.ศ. 220-พ.ศ. 660 หรือ ก่อน ค.ศ. 323- ค.ศ. 117) - เหตุการณ์จลาจล การชิงอำนาจ ในประเทศ - ถูกศัตรูจากภายนอกรุกรานผลัดเปลี่ยนกันเข้าครองอินเดีย - ศาสนาฮินดูเองก็แตกแยกออกเป็นนิกายต่างๆมากมาย - พราหมณ์จึงปรับปรุงลัทธิศาสนาของตน

สมัยอวตาร (พ.ศ. 220-พ.ศ. 660 หรือ ก่อน ค.ศ. 323- ค.ศ. 117) สมัยอวตาร (พ.ศ. 220-พ.ศ. 660 หรือ ก่อน ค.ศ. 323- ค.ศ. 117) 1. เกี่ยวกับเทพเจ้า พราหมณ์ได้สร้างเรื่องอวตาร ซึ่งหมายถึงการแบ่งภาคมาเกิดของ เทพเจ้าสูงสุดศาสนาฮินดู เพื่อรวมเทพเจ้าที่เกิดขึ้นใหม่หลายองค์มาขึ้นกับพรหมซึ่งเป็นเทพสูงสุดของพราหมณ์

สมัยอวตาร (พ.ศ. 220-พ.ศ. 660 หรือ ก่อน ค.ศ. 323- ค.ศ. 117) สมัยอวตาร (พ.ศ. 220-พ.ศ. 660 หรือ ก่อน ค.ศ. 323- ค.ศ. 117) 2. กำเนิดปรัชญาสำคัญๆ 6 ลัทธิ ที่เรียกว่า "ษัททรรศนะ" "ศาสตร์ทั้งหก" "ทรรศนะหก" หรือ "ปรัชญาหก" 3. ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และรวบรวมกฎวินัยสำหรับบุคคล แต่ละวรรณะปฏิบัติ  คือคัมภีร์ซึ่งต่อมาถือกันว่าเป็นต้น กำเนิดของกฎหมายโลก เรียกว่า “ มนูธรรมศาสตร์ " 4. “ คัมภีร์ภควัทคีตา "

สมัยเสื่อม (พ.ศ. 861-1190 หรือ ค.ศ. 318-647) สมัยเสื่อม (พ.ศ. 861-1190 หรือ ค.ศ. 318-647) - สมัยที่เป็นยุคเสื่อมของศาสนาฮินดู - เป็นสมัยเสื่อมแห่งพระพรหม - ลัทธิศาสนาฮินดูแตกแยกเป็นนิกายต่างๆมากมาย - แต่ละนิกายมีข้อปฏิบัติเสื่อมทรามลงกว่าเดิมมาก เช่น นิกายใหญ่ที่สำคัญ 2 นิกาย คือ นิกายที่นับถือพระศิวะเป็นใหญ่เรียกว่า "ไศวะนิกาย" กับนิกายที่นับถือพระวิษณุเป็นใหญ่เรียกว่า นิกาย "ไวษณพ" - ต่างสร้างประวัติยกย่องเทพเจ้าฝ่ายตนเลิศเลอ - และดูหมิ่นเหยียดหยามเทพเจ้าของอีกฝ่ายหนึ่ง - กำเนิดเครื่องหมายอันเป็นสัญลักษณ์ ตรีมูรติ

สมัยฟื้นฟู (พ.ศ. 1200-1740 หรือ ค.ศ. 657-1197) สมัยฟื้นฟู (พ.ศ. 1200-1740 หรือ ค.ศ. 657-1197) - พุทธศาสนาซึ่งเป็นคู่แข่งสำคัญของศาสนาฮินดู - บรรดาเจ้าลัทธิทั้งหลายในศาสนาฮินดู - พยายามทุกวิถีทางที่จะเผยแผ่ลัทธิศาสนาของตน - พยายามกีดกันศาสนาพุทธและศาสนาเชน - การปรับปรุงและความเปลี่ยนแปลงสำคัญของศาสนาฮินดู

สมัยฟื้นฟู (พ.ศ. 1200-1740 หรือ ค.ศ. 657-1197) สมัยฟื้นฟู (พ.ศ. 1200-1740 หรือ ค.ศ. 657-1197) เกิดลัทธิความเชื่อใหม่ 2 ลัทธิ ได้แก่ - ลัทธิศักติ คือ การบูชาเทพเจ้า ฝ่ายหญิงที่เป็นชายาของเทพเจ้า - เกิดลัทธิภักติ(บูชาเทพเจ้าองค์ใดที่ตนนับถือก็ได้) มีการก่อสร้างเทวสถานใหญ่โต ประดับประดาอย่างวิจิตร - หญิงที่เผาตัวตายพร้อมพิธีศพสามีนี้เรียกว่า "สตี" (แปลว่าดี) ที่เรียกว่า “ พิธีสตี "

สมัยภักติ (พ.ศ. 1740-2300 หรือ ค.ศ. 1197-1757) สมัยภักติ (พ.ศ. 1740-2300 หรือ ค.ศ. 1197-1757) - ลัทธิภักติได้เจริญขึ้นในอินเดียภาคเหนือ นิกายที่สำคัญออกได้เป็น 3 นิกายที่นิยมนับถือกัน คือ นิกายที่ 1 นับถือพระราม นิกายที่ 2 นับถือพระกฤษณะ นิกายที่ 3 นับถือพระราม แต่ปฏิเสธ - เรื่องพระรามคืออวตารของพระวิษณุ - การบูชารูปเคารพ และการแบ่งชั้นวรรณะ - ลัทธิภักติเผยแผ่ลัทธิด้วยภาษาพื้นเมือง - ยกย่องอาจารย์ผู้สอนลัทธิว่าเป็นผู้ควรแก่ การเคารพอย่างสูงเรียกว่า "คุรุ"