งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving
หลังจากถูกตรึงที่กางเขนแล้ว 3 วัน พระเยซูก็ฟื้นขึ้นจากความตาย วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving อาจารย์สอง Satit UP

2 เป็นเทศกาลขอบพระคุณพระเจ้าส่วนมากจะมีในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
วันขอบคุณพระเจ้า Thanksgiving Day เป็นเทศกาลขอบพระคุณพระเจ้าส่วนมากจะมีในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

3 Thanksgiving ประเพณีขอบคุณพระเจ้าวันขอบคุณพระเจ้า (Thanksgiving Day) เป็นวันฉลองการเก็บเกี่ยวที่เดิมเป็นการแสดงความขอบคุณต่อพระเจ้าเมื่อสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว ขณะที่ที่มาเดิมมาจากเทศกาลที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนาแต่ในปัจจุบันวันขอบคุณพระเจ้าเป็นเพียงวันหยุดราชการด้วยที่ที่ฉลองกันในสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา

4 T H A N K S G I V I N G D A Y

5 T H A N K S G I V I N G D A Y

6 Thanksgiving ในสหรัฐอเมริกา วันขอบคุณพระเจ้าจะตรงกับวันพฤหัสบดีที่สี่ของเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ในขณะที่ในประเทศแคนาดาจะตรงกับวันจันทร์ที่สองของเดือนตุลาคม ประเพณีนี้เกิดขึ้นภายหลังจากการอพยพของชาวยุโรปมาที่ทวีปอเมริกาเหนือ ถึงแม้ว่าประเพณีนี้เป็นประเพณีหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์ที่ฉลองกันโดยบุคคลในทวีปอเมริกาทั้งที่เป็นคริสต์ศาสนิกชนและอื่นๆ แต่เป็นการฉลองที่มีที่มาที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของการตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริกาเหนือ ฉะนั้นเทศกาลนี้จึงไม่มีการฉลองกันในทวีปยุโรปหรือประเทศที่นับถือศาสนาคริสต์อื่นๆ ถึงอาจจะมีบ้างแต่ยังไม่แพร่หลายเหมือนอย่างเช่น ในสหรัฐอเมริกา

7 อาหารที่นิยมรับประทานในวันขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงแล้วยังมี ฟักทองบด
ทุกวันพฤหัสบดีที่ 4 ของเดือนพฤศจิกายน ชาวอเมริกันจะถือเป็น วันขอบคุณพระเจ้า (Thanksgiving Day)

8 วันขอบคุณพระเจ้า มีประวัติความเป็นมาเริ่มตั้งแต่การอพยพตั้งถิ่นฐานครั้งแรก ในอเมริกาในปี ค.ศ ชาวอังกฤษ 102 คนซึ่งเป็นพิวริแตน(Puritans) ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ เนื่องจากต้องการแสวงหาดินแดนแห่งเสรีภาพทางศาสนา(ต้องการอิสรเสรีในการนับถือศาสนา) ได้เดินทางออกจากเมืองพลีมัธ (Plymouth)ในอังกฤษ โดยเรือเมย์ฟลาเวอร์ (Mayflowers) ออกเดินทางมุ่งหน้าสู่โลกใหม่ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมาขึ้นฝั่งในดินแดนใหม่ในทวีปอเมริกาเหนือ(ปัจจุบันอยู่ในมลรัฐแมสสาซูเสท) เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1620

9 พวกพิวริแตน(Puritans) ที่ต้องการแสวงหาดินแดนแห่งเสรีภาพทางศาสนา(ต้องการอิสรเสรีในการนับถือศาสนา) ได้เดินมาขึ้นฝั่งในดินแดนใหม่ในทวีปอเมริกาเหนือ (ปัจจุบันอยู่ในมลรัฐแมสซาซูเซตส์) เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1620

10 เมืองพลีมัธ(Plymouth) ที่เป็นที่พวกพิวริเตนตั้งหลักแหล่งอาศัย เมื่อเวลาผ่านไปเข้าสู่ฤดูหนาวพวกพิลกริมต้องเผชิญกับการต่อสู้ภัยธรรมชาติ ซึ่งยากที่จะรับมือได้เนื่องจาก ไม่คุ้นเคยและไม่ได้รับการฝึกฝนทนกับความหนาวเย็น การใช้ชีวิตในป่าดงพงไพรอันเต็มไปด้วยโรคต่าง ๆ การทำงานหนัก ตลอดจนอาหารมีไม่เพียงพอ พวกเขาจึงได้รับความทุกข์ทรมานอย่างมากจนถูกคร่าชีวิตไปกว่าครึ่งหนึ่ง ในเช้าวันหนึ่งของฤดูใบไม้ผลิอันเป็นฤดูกาลถัดจากฤดูหนาว ชายชาวอินเดียนแดงคนหนึ่งเดินเข้ามาในหมู่บ้านเล็ก ๆ ของพลีมัธ และแนะนำตัวเองอย่างเป็นมิตรซึ่งในเวลาต่อมาเขาได้นำหัวหน้าเผ่าอินเดียนแดง ชื่อแมสซาซอยท์ (Massasoit) ให้ความช่วยเหลือพวกพิลกริม โดยสมาชิกในเผ่าของแมสซาซอยท์ได้สอนวิธีการล่าสัตว์ จับปลาและปลูกพืชให้กับพวกพิลกริม นอกจากนี้ยังสอนวิธีการใช้ปลา เป็นปุ๋ยสำหรับปลูกข้าวโพด ฟักทอง และถั่ว มีผลให้พวกพิลกริมสามารถเก็บเกี่ยว พืชผลได้อย่างดีมาก

11 ผู้ว่าการวิลเลี่ยม แบรดฟอร์ด (William Bradford) เจริญรอยตามแบบแผนประเพณีเก่าแก่ที่เคยปฏิบัติกันมา ได้กำหนดวันเพื่อขอบคุณพระเจ้าในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ และยังได้ใช้โอกาสทางศาสนานี้สร้างสายสัมพันธ์ อันดีงามระหว่างพวกพิลกริม และเพื่อนบ้านชาวอินเดียนแดงเหล่านั้น ด้วยเหตุนี้ผู้ว่าการวิลเลี่ยมจึงเชื้อเชิญหัวหน้าเผ่าอินเดียนแดง นายแมสซาซอยท์ และผู้กล้าของเขาให้มาร่วมงานสังสรรการเฉลิมฉลองวันขอบคุณพระเจ้านี้ ซึ่งพวกอินเดียนแดงรับคำเชิญ ด้วยความยินดี และส่งเนื้อกวางมาร่วมงานเลี้ยง ชายฉกรรจ์พิลกริมทั้งหลายจึงออกไปล่าสัตว์ และกลับมายังที่พักพร้อมกับไก่งวง และสัตว์ป่าอื่นๆ ส่วนผู้หญิงเตรียมอาหารอร่อยๆ ซึ่งทำมาจากข้าวโพด ลูกเเครนเบอรี่ ผลสควอช และฟักทอง

12 The First Thanksgiving at Plymouth
ครั้งแรกที่พวกพิวริเตนชาวอังกฤษเหล่านี้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา(ดินแดนโลกใหม่) พวกเขาต้องล้มป่วยลงและเสียชีวิตเนื่องจากสภาพอากาศหนาวจัด และการเผชิญความยากลำบากหลายด้านนั้น ชนเผ่าอินเดียนแดงซึ่งอยู่ใกล้เคียงนั้น ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณเดียวกันได้ให้ความช่วยเหลือชาวพิวริเตนกลุ่มนี้

13 The First Thanksgiving at Plymouth

14 ในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.1621 ชาวอังกฤษกลุ่มนี้ได้เชิญชาวเผ่าอินเดียนแดงมาร่วมขอบพระคุณพระเจ้าที่พระเจ้าได้ช่วยพวกเขามีชีวิตที่ดีในดินแดนแห่งใหม่นี้ ในการเลี้ยงฉลองครั้งแรกๆได้มีการรับประทานไก่งวง ขนมพาย ซึ่งทำจากลูกพั๊มกิ้นและพัดดิ้ง ซึ่งทำมาจากข้าวโพด ลูกเเครนเบอรี่ ผลสควอช และฟักทอง

15 การฉลองวันขอบพระคุณพระเจ้าอย่างไม่เป็นทางการนี้ ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1621 โดยมีการจัดงานถึง 3  วัน ต่อมาก็มีการจัดบ้างไม่จัดบ้าง ในแต่ละปีจนถึงปี ค.ศ. 1863 เมื่อรัฐบาลได้ประกาศให้มีการฉลองวันขอบคุณพระเจ้าอย่างเป็นทางการ ในวันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ (เมื่อประธานาธิบดี อับราฮัม ลินคอล์น ได้ประกาศให้วันขอบคุณพระเจ้า หรือ Thanksgiving เป็นวันหยุดราชการเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองขอบคุณพระเจ้าสำหรับชาวอเมริกัน) และก็มีการฉลองติดต่อกันในวันพฤหัสบดีสุดท้ายของเดือนพฤศจิกายนของทุกปี

16 อาหารช่วงวันขอบคุณพระเจ้า ประเพณีการฉลองวันขอบคุณพระเจ้าของคนอเมริกันในยุคปัจจุบันมีที่มาจากการฉลองวันขอบคุณพระเจ้าครั้งแรกดังกล่าว ดังนั้นอาหารหลักบนโต๊ะอาหารในวันนี้ซึ่งถือเป็นอาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้าจะมีไก่งวงอบยัดไส้ (Roast turkey with stuffing) ผลสควอช(Squash) ขนมปังข้าวโพด (Corn bread) และซอสแครนเบอร์รี่ (Cranberry sauce) พายฟักทอง (Pumpkin pie) ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคสมัยนั้น

17 อาหารที่นิยมรับประทานในวันขอบคุณพระเจ้าที่จะขาดเสียไม่ได้ คือ ไก่งวง (turkey)

18 อาหารที่นิยมรับประทานในวันขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงแล้วยังมี ฟักทองบด

19 อาหารช่วงวันขอบคุณพระเจ้า : ไก่งวงอบยัดไส้ (Roast turkey with stuffing)

20 อาหารช่วงวันขอบคุณพระเจ้า ไก่งวงอบยัดไส้ (Roast turkey with stuffing)

21 อาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้านอกจะมีจะมีไก่งวงอบยัดไส้เป็นเมนูหลักแล้วยังมีขนมปังข้าวโพด และซอสแครนเบอร์รี่ พายฟักทอง ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคสมัยนั้น

22 Thanksgiving อาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงอบยัดไส้ แล้วยังมี ขนมปังข้าวโพด ซอสแครนเบอร์รี่ พายฟักทอง ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคที่ผู้อพยพตั้งถิ่นฐานครั้งแรกในอเมริกา

23 อาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงอบยัดไส้ แล้วยังมี ขนมปังข้าวโพด ซอสแครนเบอร์รี่ พายฟักทอง ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคที่ผู้อพยพตั้งถิ่นฐานครั้งแรกในอเมริกา

24 อาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงอบยัดไส้ แล้วยังมี ขนมปังข้าวโพด ซอสแครนเบอร์รี่ พายฟักทอง ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคสมัยแรก ๆ ของการตั้งถิ่นฐานในอเมริกา Thanksgiving

25 อาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงอบยัดไส้ แล้วยังมี ขนมปังข้าวโพด ซอสแครนเบอร์รี่ พายฟักทอง ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคสมัยแรก ๆ ของการตั้งถิ่นฐานในอเมริกา

26 Thanksgiving อาหารประจำเทศกาลขอบคุณพระเจ้านอกจากจะมีไก่งวงอบยัดไส้ แล้วยังมี ขนมปังข้าวโพด ซอสแครนเบอร์รี่ พายฟักทอง ถั่ว เช่นเดียวกับอาหารที่หาและเก็บเกี่ยวได้ ในยุคสมัยแรก ๆ ของการตั้งถิ่นฐานในอเมริกา

27 Thanksgiving วันขอบคุณพระเจ้า ชาวอเมริกันจะเลี้ยงฉลองขอบคุณพระเจ้าที่อวยพระพรพวกเขาทั้งหลายให้มีความสุขทั้งกายและ ใจตลอดปีที่ผ่านมา และเป็นวันที่สมาชิกครอบครัวจะอยู่พร้อมหน้ากัน เพื่อรับประทานอาหารเย็น รวมทั้งพูดคุยถึงสิ่งที่ ต้องการขอบคุณพระเจ้า

28 Thanksgiving วันขอบคุณพระเจ้า ชาวอเมริกันจะเลี้ยงฉลองขอบคุณพระเจ้าที่อวยพระพรพวกเขาทั้งหลายให้มีความสุขทั้งกายและ ใจตลอดปีที่ผ่านมา และเป็นวันที่สมาชิกครอบครัวจะอยู่พร้อมหน้ากัน เพื่อรับประทานอาหารเย็น รวมทั้งพูดคุยถึงสิ่งที่ ต้องการขอบคุณพระเจ้า และมีการอธิษฐานร่วมกันบนโต๊ะอาหาร

29 ในวันขอบคุณพระเจ้านี้ชาวอเมริกันจะใช้เวลาอยู่ร่วมกับครอบครัวและรับประทานอาหารมื้อใหญ่ด้วยกัน โดยอาหารที่นิยมรับประทานจนเป็นประเพณีคือ ไก่งวง สำหรับชาวอเมริกันที่นับถือศาสนาคริสต์ถือว่าวันนี้มีความสำคัญมาก เพราะเป็นการรำลึกถึงพระคุณของพระเจ้าที่มีต่อชีวิตของเขา

30 วันพระคริสต์สำแดงองค์ Epiphany
หลังจากถูกตรึงที่กางเขนแล้ว 3 วัน พระเยซูก็ฟื้นขึ้นจากความตาย วันพระคริสต์สำแดงองค์ Epiphany

31 วันอีพิฟีนี่ หรือ วันพระคริสต์สำแดงองค์ (Epiphany) ตรงกับวันที่ 6 มกราคม เป็นวันระลึกถึงการไขแสดงของพระเจ้า(พระเจ้าได้ไขแสดงและเปิดเผยพระองค์ หรือการเปิดเผยพระองค์ของพระเจ้าแห่งฟ้าสวรรค์แก่มนุษย์ หรือการปรากฏตัวของพระเยซูคริสต์“) ในศาสนาจักรออร์โธดอกซ์จะฉลองวันนี้ที่เรียกว่าวันเทศกาลฉลองการเสด็จมาของพระเยซูคริสต์ หรือ วันเทศกาลฉลองการเสด็จมาของพระเยซูคริสต์  ในความหมายปัจจุบันมักเน้นไปที่เหตุการณ์ที่มีนักปราชญ์จากทิศตะวันออกหรือโหราจารย์มาพบพระกุมารเยซู (วันที่พวกนักปราชญ์ถวายเครื่องบรรณาการแด่พระกุมาร) บางครั้งเรียกวันนี้ว่าวัน Three Kings’ Day หากนับจากวันคริสต์มาสไปอีก 12 วัน ตรงกับวันอาทิตย์ ที่ 6 มกราคม โดยในบางแห่งจะมีการฉลองยาวตั้งแต่วันที่ 25 ธ.ค. – 6 ม.ค. (twelve days of Christmas)

32 "Epiphany" หมายความว่า "การสำแดง" (manifestation), "การปรากฎ" (appearance) และ "การเปิดเผย" (revelation) คำ ๆ นี้มาจากภาษากรีกว่า "epiphaneia" และภาษาลาตินว่า "epiphania" (epi แปลว่า "บน, เหนือ" phainein แปลว่า "แสดง, นำมาแสดง“ ) Epiphany หมายถึง "วันเทศกาลฉลองการเสด็จมาของพระเยซูคริสต์  ตรงกับวันที่ 6 มกราคม, การเสด็จมา หรือการปรากฏตัวของพระเยซูคริสต์“ โดยวันนี้เป็นอีกวันหนึ่งที่ในหลาย ๆ ประเทศถือเป็นวันหยุดประจำปีเช่น เดียวกับวันคริสต์มาส โดยเฉพาะในประเทศของศาสนจักรตะวันออก (นิกายออร์โธดอกซ์)

33 พระเยซูรับศีลจุ่ม (ศีลล้างบาป)
แรกเริ่มเดิมที "Epiphany" เป็นเทศกาลเฉลิมฉลองตามปฏิทินของชาวคริสต์ ในวันที่ 6 มกราคม  ที่เริ่มต้นโดยศาสนจักรทางซีกโลกตะวันออก(ออร์โธดอกซ์)  ซึ่งเป็นจุดกำเนิดของเทศกาลนี้  เดิมตั้งใจว่าจะเฉลิมฉลองในเรื่อง "การสำแดง ของพระเป็นเจ้า ผ่านทางองค์พระเยซูคริสต์โดยรวมทั้งหมด" (The total revelation of God in Christ.) แต่ต่อมามัก ก็มาเจาะจงเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสการปรากฎพระองค์ ของพระเยซูต่อหน้าสาธารณชน  1) เมื่อตอนที่พระองค์ทรงเริ่มต้นพระราชกิจของพระองค์เป็นครั้งแรก โดยการมาหา ยอห์น(John the Baptism) (บุตรของเศคาริยาห์และเอลีซาเบธ ผู้ที่พระเจ้าให้มาเกิดก่อนพระเยซูคริสต์)  เพื่อให้ยอห์นศีลบัพติสมา (ศีลจุ่ม/หรือศีลล้างบาป) แก่พระเยซูที่แม่น้ำจอร์แดน  และพระเจ้าทรงรับรองการปรากฎตัวของพระเยซูคริสต์ ด้วยการสำแดงหมายสำคัญ  ให้ท้องฟ้าแหวกออกและพระวิญญาณดุจนกพิราบลงมาสู่พระองค์พร้อมกับพระสุรเสียงมาจากฟ้าสวรรค์ ว่า "ท่านเป็นบุตรที่รักของเรา  เราชอบใจท่านมาก" พระเยซูรับศีลจุ่ม (ศีลล้างบาป)

34 2) การสำแดงพระองค์อีกประการหนึ่ง ก็คือ  การสำแดงของพระเยซูคริสต์ เมื่อทรงเปลี่ยนน้ำ (water)  ให้กลายเป็นน้ำองุ่น (wine) ที่หมู่บ้านคานา แคว้นกาลิลี  ในครั้งนั้นพระองค์ทรงไปร่วมงานแต่งงาน  แต่ปรากฎว่าเจ้าภาพต้องเสียหน้าเมื่อปรากฎว่าน้ำองุ่น ที่รับรองแขกเกิดหมดลง นางมารีย์จึงขอให้พระเยซูช่วย  พระองค์จึงทรงเปิดเผยฤทธิ์อำนาจทำการอัศจรรย์เป็นครั้งแรก  ด้วยการเปลี่ยนน้ำให้เป็นน้ำองุ่น เพื่อช่วยเจ้าภาพเจ้าบ่าวเจ้าสาวและแขกในงานทุกคน

35 3) ต่อมาปรากฎว่า  การเฉลิมฉลองเทศกาล "Epiphany" นี้ได้แพร่หลายมาทางฝั่งตะวันตก  และผสมผสานกับการฉลองคริสต์มาสที่โหราจารย์(นักปราชญ์จากตะวันออก)นำของขวัญมาเข้าเฝ้านมัสการพระเยซูคริสต์  เพราพวกเขาได้รับ "Epiphany" ผ่านการนำทางของดวงดาว ในช่วงยุคกลาง และยุคหลังปฏิรูปศาสนา  ได้เป็นที่ยอมรับกันว่า  เทศกาลเฉลิมฉลองกลางฤดูหนาว หรือ "คริสต์มาส 12 วัน" นั้น  เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม  จนถึงวันสุดท้ายของเทศกาล คือวันที่ 6 มกราคม  ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นวันที่นักปราชญ์/โหราจารย์จะตะวันออกนำของขวัญคริสต์มาสชุดแรกจากต่างแดนมาถวายแด่พระกุมารเยซูคริสต์

36 ในหลายประเทศในยุโรปตะวันออกของนิกายออร์โธดอกซ์ เช่น ในรัสเซีย จะเน้นที่พิธีกรรมการล้าง มักจะมีการลงล้างบาปและลงแช่น้ำในแม่น้ำที่เย็นจัดในฤดูหนาวโดยเชื่อว่าน้ำที่ได้รับการประสาทพรจากพระในเทศกาลเพื่อระลึกถึงการล้างบาปของพระเยซูบักบุญจอห์น(John the Baptism)

37 วันสำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ พระแม่มารีย์และเหล่านักบุญ
หลังจากถูกตรึงที่กางเขนแล้ว 3 วัน พระเยซูก็ฟื้นขึ้นจากความตาย วันสำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ พระแม่มารีย์และเหล่านักบุญ

38 วันสำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ พระแม่มารีย์และเหล่านักบุญ
มักมีในนิกาย โรมันคาทอลิก และ นิกายออร์โธดอกซ์ ไม่ค่อยมีในนิกายโปรเตสแตนท์

39 นอกจากเทศกาลวันสำคัญดั้งกว่าข้างต้นนั้นยังมีวันสำคัญทางศาสนาที่เกี่ยวข้องกับเหล่านักบุญ (Saint) ที่สำคัญส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับพระแม่มาเรีย(มารีย์) ซึ่งเป็นที่นับถือของชาวคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและนิกายออร์โธดอกซ์ ทำให้ทั้ง 2 นิกายนี้มีเทศกาลวันสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพระแม่มารีย์และเหล่านักบุญเป็นจำนวนมาก ในรอบปีอีกด้วย

40 Pray

41

42 การอธิษฐาน หรือ การสวดภาวนา เป็นส่วนหนึ่งในวิธีชีวิตของชาวคริสต์ที่จะต้องกระทำ เพื่อใช้กล่าววิงวอนต่อพระเจ้า ซึ่งมีในทุกนิกาย สำหรับในนิกายโรมันคาทอลิก และนิกายออร์ดอกซ์ นั้น จะมีการออ้อนวอนทูลขอผ่านเหล่านักบุญและพระแม่มารีย์ด้วย

43 การอธิษฐาน หรือ การสวดภาวนา เป็นส่วนหนึ่งในวิธีชีวิตของชาวคริสต์ที่จะต้องกระทำ เพื่อใช้กล่าววิงวอนต่อพระเจ้า ซึ่งมีในทุกนิกาย สำหรับในนิกายโรมันคาทอลิก และนิกายออร์ดอกซ์ นั้น จะมีการออ้อนวอนทูลขอผ่านเหล่านักบุญและพระแม่มารีย์ด้วย

44 Praise Lord

45 Sunday ( พิธีนมัสการพระเจ้าในวันอาทิตย์ )

46 นิกายโปรเตสแตนท์ มักเรียก Sunday Service Sunday worship service
การไปโบสถ์วันอาทิตย์ นิกายโปรเตสแตนท์ มักเรียก Sunday Service Sunday worship service นิกายโรมันคาทอลิก มักเรียก Sunday Mass

47 Sunday ทำไมถึงใช้วันอาทิตย์ !!!??

48 วันอาทิตย์เป็นวันที่พระเยซูเป็นขึ้นมาจากความตาย ( วันที่ 3 หลังจากที่สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน )

49 วันอาทิตย์ คือ วันที่พระเยซู เป็นขึ้นมาจากความตาย
วันอาทิตย์ คือ วันที่พระเยซู เป็นขึ้นมาจากความตาย

50 Sunday Service

51 Sunday Service

52 การนมัสการพระเจ้าและไปโบสถ์ในวันอาทิตย์ Sunday Service
นิกายโรมันคาทอลิก ( Roman Catholic ) โบสถ์

53 การนมัสการพระเจ้าและไปโบสถ์ในวันอาทิตย์ Sunday Service

54 ในวันอาทิตย์จะชาวคริสต์จะร่วมกันร้องเพลงสรรเสริญพระเจ้าและฟังเทศนาตลอดจนประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

55 ในวันอาทิตย์จะชาวคริสต์จะร่วมกันร้องเพลงสรรเสริญพระเจ้าและ ฟังคำเทศนาตลอดจนประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

56 การนมัสการพระเจ้าในวันอาทิตย์ Sunday Service

57 คณะนักร้องในโบสถ์ ซึ่งโบสถ์หลายๆ ที่จะมีกลุ่มคณะนักร้องประสานเสียง ของโบสถ์ที่เรียกว่า Choir

58 Choir คณะนักร้องในโบสถ์ ซึ่งในหลาย ๆ ที่จะมีกลุ่มคณะนักร้องประสานเสียงของโบสถ์ที่เรียกว่า Choir

59 คณะนักร้องในโบสถ์ซึ่งโบสถ์หลาย ๆ แห่งจะมีกลุ่มคณะนักร้องประสานเสียงของโบสถ์ที่เรียกว่า Choir

60 Choir คณะนักร้องในโบสถ์ซึ่งโบสถ์หลาย ๆ แห่งจะมีกลุ่มคณะนักร้องประสานเสียงของโบสถ์ที่เรียกว่า Choir

61 Choir คณะนักร้องในโบสถ์ซึ่งโบสถ์หลาย ๆ แห่งจะมีกลุ่มคณะนักร้องประสานเสียงของโบสถ์ที่เรียกว่า Choir


ดาวน์โหลด ppt วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google