เทคนิคการเขียนข้อสอบ สุดใจ เกตุเดชา วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์
ประวัติวิทยากร ประวัติการทำงาน ปี 2528-2553 วษท.เพชรบูรณ์ ประวัติการทำงาน ปี 2528-2553 วษท.เพชรบูรณ์ อาจารย์ 1 ระดับ 3 –คศ.4 ปี 2553-2556 วก.นครสวรรค์ คศ.4 ปี 2556-ปัจจุบัน วอศ.นครสวรรค์ คศ.4 ประวัติการศึกษา วทบ. ปฐพีวิทยา มอ. และ วทม.ปฐพีวิทยา ม.เกษตรศาสตร์ วิทยากร วิพากษ์ผลงาน คัดเลือก ตัดสิน เขียนคู่มือด้านวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ สอศ. การจัดทำผลงานวิชาการ /ผลงานวิจัย วิทยากร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์/การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินสภาพจริง การประเมินโดยไม่ใช้ข้อสอบ การสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน โครงงานเป็นฐาน โครงการเป็นฐาน วิทยากร การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านเกษตร ปฐพีวิทยา ดิน ปุ๋ย น้ำ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจประเมินผลงานวิชาการ ตรวจคุณภาพเครื่องมือนวัตกรรม 14/05/62
เติมเต็ม ต่อยอด ความคิด พิชิตปัญหาสู่ความสำเร็จ ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อภิวัฒน์การเรียนเรียนรู้ สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย โดย นพ.ประเวศ วะสี สิ่งที่วิเศษที่สุดของความเป็นมนุษย์ คือ ศักยภาพในการเรียนรู้ การเรียนรู้ที่สำคัญที่สุด คือ การเรียนรู้ในการปฏิบัติ
การเรียนรู้ที่ดี เป็นอย่างไร 1. เกิดสิ่งดี ๆ ในชีวิตและสังคม มีความสุข 2. เกิดสัมพันธภาพที่ดีกับคนอื่น สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ที่ดี เป็นอย่างไร 4. เกิดทักษะชีวิต สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี 3. ทำงานเป็น จัดการเป็น หลุดพ้นจากยากจน
กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่ การศึกษาไทยที่ผ่านมา 100 ปี “การศึกษาคือ การสอนถ่ายทอดเนื้อหาวิชาในตำรา หรือ การเรียนการสอนวิชา ทำให้ฐานการเรียนรู้อยู่ในตำรา ไม่ได้อยู่ในฐานความจริงของชีวิต เป็นการสอนให้ท่องเนื้อหาวิชา 1.คนไทยไม่รู้ความจริงของชีวิต 2. สร้างคนไทยทำงานไม่เป็น ไม่อดทน ไม่รับผิดชอบ 3. ทำให้คนไทยจัดการไม่เป็น ขาดทักษะการเชื่อมโยงองค์ประกอบต่าง ๆ 4. ทำให้คนไทยคิดเชิงระบบไม่เป็น ไม่สามารถทำงานใหญ่ ๆ ยาก ๆ ได้ 5. ทำให้คนไทยอ่อนแอทางวิชาการ เพราะว่าฐานการเรียนรู้อยู่ในตำรา ไม่อยู่ในความจริงของชีวิตจริง
กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่ เปลี่ยนจากเน้นการสอน เป็นการ ส่งเสริมการเรียนรู้ 2. เปลี่ยนฐานการเรียนรู้จากตำรา เป็นการเรียนจากชีวิตจริง ปฎิบัติจริง สอนให้น้อยละ – เรียนรู้ให้มากขึ้น เป็นการบูรณาการชีวิตกับการเรียนรู้เข้าด้วยกัน ชีวิตคือการเรียนรู้ การเรียนรู้คือชีวิต
ไตรยางค์แห่งการเรียนรู้ องค์ที่ 3 การทำจิตให้นิ่ง องค์ที่ 2 การเรียนรู้จากการคิด หรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ องค์ที่ 1 การเรียนรู้จากการทำ (วิถีชีวิต)
ใครตอบได้บ้าง (Know How) สรุปองค์ 3 แห่งการเรียนรู้ คือ การเรียนรู้จากการทำ เรียนรู้จากการคิด เรียนรู้เพื่อพัฒนาจิตให้ดียิ่ง กระบวนการเรียนรู้ที่ดีที่สุดที่จะพัฒนาคนให้เต็มศักยภาพความเป็นมนุษย์ นั้นคือ อย่างไร ใครตอบได้บ้าง (Know How)
กระบวนการเรียนรู้ = การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทั้ง 3 ด้าน กระบวนการเรียนรู้ = การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทั้ง 3 ด้าน 1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) 3. จิตพิสัย (AffectiveDomain)
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) เป็นการวัดความรู้ ทักษะ หรือ วัดความสามารถของผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของรายวิชาต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
การรวิเคราะห์หลักสูตรหาจำนวนข้อของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1005 จำนวน 4 ชั่วโมง ต่อ สัปดาห์ จำนวน 2 หน่วยกิต ลำดับที่ หน่วยการเรียนรู้ น้ำหนักพฤติกรรม รวม จำนวนข้อสอบ ลำดับความสำคัญ พุทธิพิสัย ทักษะ เจตคติ ความรู้-ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ สูงกว่า 1 ความปลอดภัยในงานเชื่อมโลหะและงานโลหะแผ่น 3 - 9 5 2 วัสดุงานเชื่อมโลหะและ งานโลหะแผ่น การเชื่อมโลหะด้วยแก๊สอะเซทิลีนและแก๊สออกซิเจน 6 8 4 25 15 การแล่นประสาน (Brazing) การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อม หุ้มฟลักซ์ 34 20 7 การบัดกรี 30 32 33 14 120 70 หมายเหตุ สำคัญมาก 8-10 สำคัญปานกลาง 5-7 สำคัญน้อย 1-4 สูตรที่ใช้ในการคำนวณ จำนวนข้อสอบต่อหน่วย = W = น้ำหนักรวมในแต่ละหน่วย TP = จำนวนข้อสอบทั้งหมด (ต้องการใช้ 70 ข้อ) TW = น้ำหนักรวม
การวัดและประเมินผลการเรียน : การเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ
จุดประสงค์ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรียนรู้ กิจกรรมเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ ?
การประเมิน วัดผลประเมินผลประเมิน การวัด ครูเก็บคะแนน ครูเก็บข้อมูลนักเรียน เป็นระยะ + ต่อเนื่อง การประเมิน (Assessment) การวัด การประเมินผล (Measurement) (Evaluation) ครูเก็บคะแนน ครูตัดสินผลการเรียน
การวัดผล การประเมิน การประเมินผล การทดสอบ การไม่ทดสอบ ความสัมพันธ์ของ การวัดผล การประเมินผล การประเมิน การประเมิน การทดสอบ การไม่ทดสอบ แบบทดสอบ การวัดผล ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย ปรนัย แบบเลือกตอบ การประเมินผล
ระบุข้อดี/ข้อได้เปรียบ กิจกรรม จุดอ่อนจุดแข็ง ระบุข้อดี/ข้อได้เปรียบ ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย ................ ................
ส่วนประกอบของข้อสอบ มี 2 ส่วน ประกอบหลัก ๆ คือ ส่วนที่ใช้กระตุ้น* เช่น โจทย์คำถาม สถานการณ์ หรือ งานที่มอบหมาย เป็นต้น ส่วนให้ตอบสนอง เช่น ตัวเลือก การเขียนตอบ การปฏิบัติงาน เป็นต้น
ข้อสอบแบบเลือกตอบ ข้อสอบที่ประกอบด้วย ข้อคำถาม(โจทย์) และมีคำตอบให้เลือกหลายๆ คำตอบ
โครงสร้างของข้อสอบแบบเลือกตอบ ตัวคำถาม ข้อคำถาม (Stem) ก. ตัวถูก ข. ตัวลวง ค. ตัวลวง ง. ตัวลวง ตัวเลือก (Choices)
สถานที่ใดคือ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ก. ข. ค. ง.
รูปแบบการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 1.คำถามโดด หรือ คำถามเดี่ยว (Single Question)
ตัวอย่าง ข้อสอบแบบเลือกตอบ(Multiple Choice) มีลักษณะเด่นกว่าข้อสอบแบบความเรียง ในประเด็นใด ก. สร้างง่าย ข. วัดพฤติกรรมที่ซับซ้อนได้ดีกว่า ค. วัดได้ครอบคลุมในสิ่งที่ต้องการวัด ง. วัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ดีกว่า
2. แบบตัวเลือกคงที่(Constant Choices) ให้ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ1 -2 ก. ข้อสอบแบบจับคู่ ข. ข้อสอบแบบถูกผิด ค. ข้อสอบแบบเลือกตอบ ง. ข้อสอบแบบเติมคำตอบ 1. ข้อสอบในข้อใดนักเรียนมีโอกาสเดาได้สูงสุด 2. ข้อสอบในข้อใดสร้างได้ครอบคลุมเนื้อหา
3. แบบกำหนดสถานการณ์ (Situation test) คำชี้แจง จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 1 – 2 “เมื่อมั่งมีมิตรมากมายไม่หมางเมิน เมื่อมอดม้วยหมูหมาไม่มามอง”
1) ข้อความนี้กล่าวถึงอะไร ก. ความตาย ข. การคบเพื่อน ค. การพลัดพราก 1) ข้อความนี้กล่าวถึงอะไร ก. ความตาย ข. การคบเพื่อน ค. การพลัดพราก ง. ความเสื่อมสูญ จ. ความสุรุ่ยสุร่าย 2) คำใดที่ทำให้ข้อความนี้ มีความหมายมากที่สุด ก. มั่งมี ข. หมูหมา ค. มากน้อย ง. มอดม้วย จ. หมางเมิน
ถามชัดเจน ถามตรงประเด็น ถามลึก หลักการเขียนข้อสอบที่ดี ถามชัดเจน ถามตรงประเด็น ถามลึก
การเขียนข้อสอบที่ดี 1. ควรเขียนคำถามให้เป็นประโยคที่สมบูรณ์ ตัวอย่างเช่น ไม่ดี 1) เมล็ดเป็นส่วนที่ ดีขึ้น 1) เมล็ดทำหน้าที่อะไร ก. ใช้คายน้ำ ก. คายน้ำ ข. ใช้ขยายพันธ์ ข. หายใจ ค. ใช้ปรุงอาหาร ค. ปรุงอาหาร ง. ใช้หายใจ ง. ขยายพันธุ์
การเขียนข้อสอบที่ดี 2. ใช้คำถามที่สั้น ชัดเจน เข้าใจง่าย ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย (ไม่ดี) 1) สุดาเป็นคนที่นิสัยพิถีพิถันในเรื่องการแต่ง กายมากและยังสามารถเลือกใช้เสื้อผ้า เครื่องแต่งกายได้อย่างเหมาะสมกับ กาลเทศะ อย่างสุดาใส่เสื้อผ้าชุดขาว-ดำก็ แสดงว่าสุดาจะไปงานใด ? ก. งานศพ ข. งานบวช ค. งานวันเกิด ง. งานแต่งงาน (ดีขึ้น) 1) เสื้อผ้าชุดขาว-ดำควรใส่ไปงานใด ?
การเขียนข้อสอบที่ดี 3. เน้นจุดหรือเรื่องที่จะถามให้ชัดเจน ตรงจุด ไม่ถามกำกวมหรือคลุมเครือ ไม่ดี ดีขึ้น 1) นายกรัฐมนตรีของไทยชื่ออะไร 1) นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันชื่ออะไร ก. ชวน หลีกภัย ก. ชวน หลีกภัย ข. ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ข. ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ค. อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ค. อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ง. บรรหาร ศิลปอาชา ง. บรรหาร ศิลปอาชา
การเขียนข้อสอบที่ดี ไม่ดี ดีขึ้น ก. เป็นเมืองหลวง ก. เมืองท่า ไม่ดี ดีขึ้น 1) อยุธยา 1) ปัจจุบันพระนครศรีอยุธยาเป็นชื่อของอะไร ก. เป็นเมืองหลวง ก. เมืองท่า ข. จังหวัดหนึ่ง ข. จังหวัด ค. โบราณสถาน ค. โบราณสถาน ง. สถานีรถไพ ง. สถานีรถไฟ
การเขียนข้อสอบที่ดี 4. ไม่ควรใช้คำถามที่เป็นปฏิเสธซ้อน ไม่ดี – เมื่อนักเรียนพบข้อความบางตอนที่ไม่สามารถจำได้ง่ายๆ เราไม่ควรปฏิบัติอย่างไร ดีขึ้น – เมื่อนักเรียนพบข้อความที่จำได้ยากๆควรปฏิบัติอย่างไร ก. ท่องให้ขึ้นใจ ข. ย่นย่อให้สั้น ค. ตีความให้ชัด ง. อ่านบททวนช้าๆ จ. ขยายความให้กว้าง
การเขียนข้อสอบที่ดี 5. ควรใช้ภาษาที่เหมาะสมกับวัยผู้สอบ ไม่ดี 1) เจ้าชายสิทธิธัตถะทรงออกผนวชเมื่ออายุกี่พรรษา ดีขึ้น – เจ้าชายสิทธิธัตถะออกบวชเมื่ออายุกี่ปี ก. 25 ข. 27 ค. 29 ง. 31 จ. 35
การเขียนข้อสอบที่ดี 6. ใช้ตัวเลือกปลายเปิดให้เหมาะสม ไม่ดี ดีขึ้น ไม่ดี ดีขึ้น 1) คำใดแปลว่า นก ? 1) คำใดไม่ได้แปลว่า นก ? ก. วิหก ก. วิหก ข. ปักษี ข. ปักษี ค. ปักษิณ ค. วิฬาร์ ง. สกุณา ง. ปักษิณ จ. ถูกทุกข้อ จ. สกุณา
การเขียนข้อสอบที่ดี 7. ควรเรียงลำดับตัวเลือก ไม่ดี ดีขึ้น ไม่ดี ดีขึ้น 2) ถ้าใส่เสื้อผ้าสกปรกอาจจะทำให้ 2) ถ้าเสื้อผ้าสกปรกจะทำให้ เกิดโรคใดมากที่สุด ? เกิดโรคใดมากที่สุด ? ก .โรคปอดบวม ก. โรคคัน ข. โรคคัน ข. โรคหวัด ค. โรคหวัด ค. โรคงูสวัด ง. โรคอหิวาตกโรค ง. โรคปอดบวม จ. โรคงูสวัด จ. โรคอหิวาตกโรค
การเขียนข้อสอบที่ดี 8. พยายามใช้รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิหรือแผนที่ จะช่วยให้เข้าใจคำถามให้ชัดเจนขึ้น คำชี้แจง จงพิจารณาข้อความในข้อ 1-5 ว่าควรชั่งน้ำหนัก ด้วยเครื่องชั่งชนิดใด ก. ข. สุภรณ์หนัก 35 กก. อเนก ซื้อผักกาด 2 กก. คุณแม่ซื้อปลาช่อน 1 กก กัลยาซื้อสร้อยข้อมือหนัก 3 บาท พ่อของปราณี ขายข้าวเปลือก 3 กระสอบ ค. ง.
การเขียนข้อสอบที่ดี 9. ข้อคำถามควรวัดลึก ไม่ดี : ดีขึ้น : ไม่ดี : ดีขึ้น : จากเรื่องสังข์ทอง พระสังข์ตีคลีกับใคร? 1) จากเรื่องสังข์ทองถ้าพระอินทร์ไม่ ยกทัพมาตีคลี (ข้อนี้ ถามความจำข้อ เท็จจริง) กับท้าวสามล เหตุการณ์จะ เป็นเช่นไร?(ข้อนี้ ถามความเข้าใจแบบ ขยายความ) ก. หกเขย ก. ท้าวสามลจะเสียเมือง ข. ท้าวสามล ข. เจ้าเงาะไม่ยอมถอดรูปเงาะ ค. พระอินทร์ ค. รจนาจะหย่าขาดกับเจ้าเงาะ ง. กษัตริย์ต่างเมือง ง. นางจันทร์เทวีจะไม่พบพระสังข์
การเขียนข้อสอบที่ดี 10. ตัวเลือกควรเป็นเอกพันธ์ : ตัวเลือกเป็นพวกเดียวกัน ไม่ดี : กรุงเทพฯมีความสำคัญในฐานะใด? ดีขึ้น : กรุงเทพฯมีความสำคัญในฐานะใด? ก. เมืองหลวง ก. เมืองท่า ข. ที่ตั้งรัฐบาล ข. เมืองเปิด ค. ผู้คนหนาแน่น ค. เมืองหลวง ง. ชุมทางการบิน ง. เมืองอุตสาหกรรม จ. อยู่ตอนกลางของประเทศ จ. เมืองเกษตรกรรม
การเขียนข้อสอบที่ดี 11. ตัวเลือกไม่ควรยาวเกินไป และตัดคำที่ไม่จำเป็นออก ไม่ดี : นกเป็นสัตว์ประเภทใด? ดีขึ้น : นก เป็นสัตว์ที่มีกระดูดสันหลัง ประเภทเดียวกับสัตว์ใด? ก. สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวกับงู ก. งู ข. สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวกับกบ ข. กบ ค. สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวกับหนู ค. หนู ง. สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวกับสุนัข ง. สุนัข จ. สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวกับกระต่าย จ. กระต่าย
การเขียนข้อสอบที่ดี 12. ตัวเลือกต้องเป็นอิสระขาดจากกัน ไม่ดี : พลเมืองไทยปัจจุบันมีประมาณเท่าไหร่? ดีขึ้น : พลเมืองไทยปัจจุบันมีประมาณ เท่าไหร่? ก. น้อยกว่า 40 ล้านคน ก. น้อยกว่า 40 ล้านคน ข. น้อยกว่า 50 ล้านคน ข. ระหว่าง 41-50 ล้านคน ค. มากกว่า 40 ล้านคน ค. ระหว่าง 51-60 ล้านคน ง. มากกว่า 50 ล้านคน ง. ระหว่าง 61-70 ล้านคน จ. ตั้งแต่ 60 ล้านคนขึ้นไป จ. มากกว่า 70 ล้านคน 13. ควรมีจำนวนตัวเลือกให้เหมาะสมกับผู้สอบ
การเขียนข้อสอบที่ดี 14.1 ถามซ้ำในเนื้อหาเดียวกัน 14. อย่าแนะคำตอบ เช่น ข้อแรก : ประเทศใดมีภูมิประเทศ ข้อหลัง : ประเทศที่มีเกาะ มากมาย เช่น ส่วนใหญ่เป็นเกาะ ฟิลิปปินส์ควรทำอุตสาหกรรมชนิดใด ก. ญี่ปุ่น ก. สร้างสะพาน ข. ฟิลิปปินส์ ข. สร้างเรือบิน ค. เกาหลีใต้ ค. สร้างเรือหางยาว ง. อินโดนีเซีย ง. สร้างเครื่องรับวิทยุ จ. ออสเตรเลีย จ. สร้างเครื่องส่งโทรทัศน์
การเขียนข้อสอบที่ดี 14.2 มีคำซ้ำกันในข้อคำถามและตัวถูก ไม่ดี : กระเพาะอาหารมีหน้าที่ทำอะไร ดีขึ้น : กระเพาะอาหารมีหน้าที่ ทำอะไร ก. ย่อยอาหาร ก. ดูดอาหาร ข. ระบายอากาศ ข. เก็บอาหาร ค. สูบฉีดโลหิต ค. ถ่ายอาหาร ง. เก็บสะสมอาหาร ง. ย่อยอาหาร จ. กรองอากาศเสีย จ. กรองอาหาร
การเขียนข้อสอบที่ดี 14.4 ควรกระจายคำตอบ 14.3 ตัวถูกและตัวลวง กันอย่างเด่นชัด ไม่ดี : ในสมัยโบราณนักรบไทยใช้ ดีขึ้น : ในสมัยโบราณนักรบไทยใช้อาวุธ อาวุธอะไรมากที่สุด อะไรมากที่สุด ก. ดาบ ก. ธนู ข. ปืนกล ข. ดาบ ค. จรวด ค. หอก ง. เรือบิน ง. กระบี่ จ. รถถัง จ. มีดสั้น 14.4 ควรกระจายคำตอบ
สรุป ถามให้ชัดเจน ถามให้ตรงประเด็น ถามให้ลึก
1. สาระสําคัญที่เรียนรู้ คืออะไร 2. คําถาม ที่ควรคุยกันต่อ คืออะไร กิจกรรม ตอบใน 1 นาที ช่วยเขียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. สาระสําคัญที่เรียนรู้ คืออะไร 2. คําถาม ที่ควรคุยกันต่อ คืออะไร
การเขียนข้อคำถาม วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
เขียนให้สอดคล้อง กับจุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนข้อคำถาม เขียนให้สอดคล้อง กับจุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ บลูม (Bloom) พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) : ภาคความรู้ สติปัญญา จิตพิสัย (Affective Domain) : ภาคความรู้สึก ลักษณะนิสัย ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) : ภาคทักษะปฏิบัติ สารบบของจุดประสงค์การเรียนรู้
ระดับขั้นของพฤติกรรมการเรียนรู้ พุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย 1. ความรู้ความจำ 1. การรับรู้ 1. เลียนแบบ 2. ความเข้าใจ 2. การตอบสนอง 2. ตามแบบ อย่างเป็นขั้นตอน 3. การประยุกต์ใช้ 3. การเห็นคุณค่า 3. ปฏิบัติได้ถูกต้อง 4. การวิเคราะห์ 4. การจัดระบบ 4. ปฏิบัติได้ต่อเนื่อง และประสานสัมพันธ์กัน 5. การสังเคราะห์ (การประเมินค่า) 5. การสร้าง ลักษณะนิสัย 5. ปฏิบัติได้อย่างเป็น ธรรมชาติ 6. การประเมินค่า (การสร้างสรรค์) ปรับใหม่ ปี ค.ศ. 2000 ปรับใหม่
ให้ท่านจับคู่กับเพื่อน เขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 1 ข้อ จากคลิปต่อไปนี้ กิจกรรม ให้ท่านจับคู่กับเพื่อน เขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ 1 ข้อ จากคลิปต่อไปนี้
กิจกรรม ฝึกเขียนและวิจารณ์ข้อสอบ 1. พิจารณาคำถามที่ตั้งขึ้น วัดพฤติกรรมระดับใด 2. ยืนยัน/ปรับข้อคำถามให้ตรงกับระดับพฤติกรรมที่ระบุตามข้อ 1 โดยเปรียบเทียบกับตัวอย่างข้อสอบ
ดูตัวอย่างข้อสอบ ในเอกสารประกอบ 1.00 ความรู้ - ความจำ 1.10 ความรู้ความจำในเนื้อเรื่อง 1.11 ศัพท์และนิยาม 1.12 กฎและความจริง 1.20 ความรู้ความจำในวิธีดำเนินการ 1.21 ระเบียบแบบแผน 1.22 ลำดับขั้นและแนวโน้ม 1.23 การจัดประเภท 1.24 เกณฑ์ 1.25 วิธีการ 1.30 ความรู้ความจำในความคิดรวบยอด 1.31 หลักวิชาและการขยาย 1.32 ทฤษฎีและโครงสร้าง ดูตัวอย่างข้อสอบ ในเอกสารประกอบ
2.00 ความเข้าใจ 2.10 การแปลความ 2.20 การตีความ 2.30 การขยายความ - ถามขยายไปข้างหน้า - ถามขยายไปข้างหลัง - ถามให้ขยายในระหว่าง
3.00 การนำไปใช้ ถามความสอดคล้องระหว่างหลักวิชากับการปฏิบัติ ถามขอบเขตของหลักวิชาและปฏิบัติ ถามให้อธิบายหลักวิชา ถามให้แก้ปัญหา ถามเหตุผลจากการปฏิบัติ
4.00 การวิเคราะห์ 4.10 การวิเคราะห์ความสำคัญ 4.20 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ 4.30 การวิเคราะห์หลักการ
5.00 การสังเคราะห์ 5.10 การสังเคราะห์ข้อความ 5.20 การสังเคราะห์แผนงาน 5.30 การสังเคราะห์ความสัมพันธ์
6.00 การประเมินค่า 6.10 การประเมินค่าโดยอาศัยเกณฑ์ภายใน 6.20 การประเมินค่าโดยอาศัยเกณฑ์ภายนอก
การเขียนคำถาม วัดความคิดระดับต่าง ๆ จะถาม นร. อย่างไร ให้ นร. คิดระดับสูง ร?
บอกความหมายหรือนิยาม พุทธิพิสัย พฤติกรรมแสดงออก คำถามของครู 1. ความรู้ความจำ จำ ระลึก ถึงความรู้ ที่อยู่ในความทรงจำได้ บอกความหมายหรือนิยาม บอกบุคคล เหตุการณ์ สถานที่บอกองค์ประกอบ บอกหลักการ 2. ความเข้าใจ สร้างความหมายจาก สิ่งต่างๆ ด้วยการ แปลความ ตีความ ขยายความ อธิบาย, ตีความ, ยกตัวอย่าง, จัดกลุ่ม, สรุปย่อ, อนุมานสร้างข้อสรุป, ขยายความ, เปรียบเทียบ 3. การนำไปใช้ ใช้ความคิดในเชิงกระบวนการ เกี่ยวกับ การปฏิบัติในการดำเนินการ ใช้, คำนวณ, สาธิต, สร้าง, เสนอ, พัฒนา, วางแผนดำเนินการ
พุทธิพิสัย พฤติกรรมของ นร. คำถามของครู 4. การวิเคราะห์ จำแนกสิ่งที่ศึกษาออกเป็นส่วนๆ และพิจารณาว่า แต่ละส่วนมีความสำคัญ มีสัมพันธ์กัน หรือมีหลักการอย่างไร จำแนก, จัดกลุ่ม, จัดประเภท, บ่งชี้คุณลักษณะ, เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง..... 5. การสังเคราะห์ นำความรู้ ทักษะหรือแนวความคิดเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ มาหลอมรวมเพื่อสร้างเป็นสิ่งใหม่ ปรับเปลี่ยน, ดัดแปลง, ผลิต, เขียน, ประดิษฐ์, จัดทำ, สร้าง, เขียนบทความ, วางโครงสร้าง, เขียนโครงร่าง, วางโครงการ, ออกแบบ, เรียบเรียงใหม่ 6. การประเมินค่า ตัดสินใจเชิงคุณค่าเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษาโดยใช้เกณฑ์หรือมาตรฐานการคิด ตัดสิน, เปรียบเทียบ, วิพากษ์วิจารณ์
การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ ค่าความยาก (p) ค่าอำนาจจำแนก (r)
ค่าความยาก (Difficulty Index) : ค่า p ความหมาย สัดส่วนของจำนวนผู้สอบที่ตอบข้อสอบข้อนั้นถูก ต่อจำนวนผู้สอบทั้งหมด
ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination Index) : ค่า r ความหมาย ความสามารถของข้อสอบที่แบ่งผู้สอบ ออกเป็นกลุ่มเก่ง และกลุ่มอ่อน ฉันเก่ง
สูตรการคำนวณ ค่า p , r เมื่อ p แทน ค่าความยากของข้อสอบ H แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก L แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ตอบถูก N แทน จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
เกณฑ์การแปลผลคุณภาพของข้อสอบ ค่า p ค่า r .80 – 1.00 ง่ายมาก (ปรับปรุงหรือตัดทิ้ง) .80 – 1.00 แยกผู้ตอบได้ดีมาก .61 - .80 ค่อนข้างง่าย .60 - .79 แยกผู้ตอบได้ดี .41 - .60 ปานกลาง .40 - .59 แยกผู้ตอบได้ปานกลาง .20 - .40 ค่อนข้างยาก .20 - .39 แยกผู้ตอบได้บ้าง .00 - .19 ยากมาก (ปรับปรุงหรือตัดทิ้ง) .00 - .19 แยกผู้ตอบไม่ได้ (ตัดทิ้ง) หลักพิจารณาง่าย ๆ ค่า p มีค่าอยู่ระหว่าง .20 - .80 ค่า r มีค่าตั้งแต่ .20 ขึ้นไป
การปรับปรุงข้อสอบ พิจารณา ค่า p , r ของตัวถูก ปรับข้อคำถาม และตัวเลือก
ตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ คุณภาพข้อสอบ ตัวเลือก ก ข ค ง p .23 .77* .00 r .50 .63*
การสร้าง แบบทดสอบ
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ 2. การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ หรือตารางวิเคราะห์หลักสูตร 3. ทบทวนจุดประสงค์การเรียนรู้ 4. เขียนข้อสอบ 5. จัดฉบับ 6. ทดลองใช้ และวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ 7. นำแบบทดสอบไปใช้
การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ รายวิชา ................................................. เพื่อวัดความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย ของนักศึกษา ใน รายวิชา ......................................................... จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว บ่งชี้ว่าแบบทดสอบที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปลายภาค (Final Test) ที่วัดประเมิน เพื่อสรุปผลการเรียน หรือ เพื่อประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เพื่อนำคะแนนผลการสอบ ไปรวมกับคะแนนระหว่างภาค เพื่อตัดสินผลการเรียน ในรายวิชาดังกล่าว ลักษณะของแบบทดสอบ ครอบคลุมหัวข้อเนื้อหา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ที่สำคัญๆ วัดครอบคลุมความสามารถ (ด้านพุทธิพิสัย) ที่ซับซ้อน หรือ ความคิดระดับสูง เป็นแบบ MCQ
ตารางโครงสร้างแบบทดสอบปลายภาค วิชา การวัดและประเมินผลการศึกษา หัวข้อเนื้อหา คาบ Rem Und App Ana Eva Cre รวม 1. พัฒนาการของการวัดฯ 2 3 6 2. การวัดฯในกระบวนการเรียนรู้ 3. จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1 4. การวางแผนการวัดฯ รายวิชา 5. เครื่องมือและเทคนิคในการวัดฯ 4 6. การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 18 7. หลักและเทคนิคในการวัดด้าน จิตพิสัยและทักษะพิสัย 12 8. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวัดฯ 9. คุณลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี 10. การวิเคราะห์ข้อสอบฯ 11. คะแนนและการให้ระดับผลการเรียน 30 19 29 10 8 90
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่จะนำไปออกข้อสอบ หัวข้อเนื้อหา ความสามารถ ด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ 6. การสร้าง เครื่องมือวัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความจำ 2 บอกขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัยได้ 2 (MC) ความเข้าใจ ยกตัวอย่างข้อสอบที่ดีและข้อสอบที่ ไม่ดีตามเกณฑ์การสร้างข้อสอบ แต่ละชนิดได้ นำไปใช้ บอกวิธีปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่ต้องสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย วิเคราะห์ 4 ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่อง ของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ 4 (MC) ประเมินค่า วิจารณ์ข้อสอบที่กำหนดให้โดยใช้เกณฑ์คุณลักษณะของข้อสอบที่ดี 1 (E) คิดสร้างสรรค์ เขียนข้อสอบที่วัดความสามารถด้านพุทธิพิสัยระดับต่างๆ เมื่อกำหนดเนื้อหาวิชาให้
รายวิชา 230 303 ชั้นปีที่ 3 หัวข้อเนื้อหา การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย ระดับความสามารถ วิเคราะห์ แบบเขียนข้อสอบ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่องของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ คำแนะนำในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ 1) ตอนนำ (stem) ของข้อสอบอาจจะใช้เป็น “คำถาม” หรือ “ประโยค” ที่ไม่สมบูรณ์ ก็ได้ แต่ต้องได้ใจความชัดเจน 2) ตัวเลือกทุกข้อต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ “ตอนนำ” 3) ตัวลวงทุกตัวมีความเป็นไปได้ และน่าจะถูกเลือกโดยผู้เรียนที่เรียนอ่อน ข้อสอบ จงพิจารณาข้อสอบต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 1-2 จังหวัดเชียงใหม่ ก. เป็นที่ราบเชิงเขา ข. อากาศหนาวเย็น ค. ปลูกลำไยมาก ง. ประชาชนมีความงามทั้งกายและใจ 1. ข้อสอบมีจุดบกพร่องในเรื่องใด เด่นชัดที่สุด ? (1) ประเด็นที่ถามไม่ชัดเจน (2) ตัวถูก ไม่ได้ถูกต้องตามหลักวิชา (3) ตัวเลือก บางข้อ ไม่สอดคล้องกับ “ตอนนำ” (4) “ตอนนำ” เป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ เฉลยคำตอบ (1)
2. และลองตอบคำถามนั้น 1. ช่วยตั้งคำถามในสาระสำคัญ ที่ได้เรียนรู้ 1 ข้อ กิจกรรม ตอบคำถามของตัวเอง 1. ช่วยตั้งคำถามในสาระสำคัญ ที่ได้เรียนรู้ 1 ข้อ 2. และลองตอบคำถามนั้น
บทสรุป ข้อสอบแบบเลือกตอบ เป็นหนึ่งในหลายวิธี ที่ใช้ทดสอบสติปัญญา ดุลพินิจในการเลือกที่จะใช้ และทักษะในการเขียนข้อสอบ เป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้การทดสอบเกิดประโยชน์สูงสุด