บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
Conic Section.
พาราโบลา (Parabola).
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วงรี ( Ellipse).
คณิตศาสตร์ ตัวอย่างข้อสอบ On-Line เรื่อง วงกลม
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
พาราโบลา (Parabola).
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกระบอก.
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. การให้เหตุผลแบบ อุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผล จากการสังเกตหรือการทดลองเพื่อค้นหาความ.
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
บทที่ 5 แสงและทัศนะศาสตร์ Witchuda Pasom.
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความดัน (Pressure).
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม ตัวอย่างที่ 4 จงตอบคำถามต่อไปนี้ 7. จงหาความยาวของเส้นสัมผัสที่ลากจากจุด จุด(7,8) ไปยังวงกลม x2 +y2 - 6x - 6y + 9 =0

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบล่า พาราโบลา (Parabola) คือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่ง และเส้นตรงคงที่เส้นหนึ่งบนระนาบ เป็นระยะทางที่เท่ากันเสมอ จากนิยามของพาราโบลา จะได้ PD = PF

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา 2.2.2 สมการพาราใบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่จุด (h, k) เมื่อแกนของพาราใบลาขนานกับแกน X (y - k)2 = 4c(x - h) รูปทั่วไป y2+Ay + Bx + C = 0 โดยที่ ถ้า c > 0 เป็นกราฟเปิดทางขวา ถ้า c < 0 เป็นกราฟเปิดทางซ้าย

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา 2.2.2 สมการพาราใบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่จุด (h, k) เมื่อแกนของพาราใบลาขนานกับแกน y (y - k) = 4c(x - h)2 รูปทั่วไป x2 + Ax + By + C = 0 โดยที่ ถ้า c > 0 เป็นกราฟหงาย ถ้า c < 0 เป็นกราฟคว่ำ

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 1. (y + 1)2 = 8(x - 3)

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 2. (x - 3)2 = 8(y + 2)

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 3. (x - 2)2 = 5(y + 2)

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 4. (y - 1)2 = - 3 5 (x +1)

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 5. (y - 3)2 = 8(x + 2)

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 6. y2- 4x + 6y + 5=0

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 7. x2 + 6x-4y + 1 = 0

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 8. x2 +2x - 8y + 25 = 0

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 9. y2 - 6y + 4x + 1 =0

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 1 จงหาจุดยอด โฟกัส ไดเรกตริกซ์ และความยาวลาตัสเรกตัม พร้อมทั้งวาดรูปของสมการพาราโบลาต่อไปนี้ 10. x2 - 2x + 4y = 0

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบ 1. จงหาสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่ (4, 3) และแกนของพาราโบลาขนานกับแกน Y และจุด (6, 5) เป็นจุดบนพาราโบลา

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบ 2. จงหาสมการของพาราโบลา ที่มีจุด (10, -4) และ (-2, -4) เป็นจุดปลายของลาตัสเรกตั้มและมีสมการไดเรกตริกซ์คือ y = 2

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบ 3. จงหาสมการของพาราโบลาที่มีแกนของพาราโบลาขนานกับแกน X จุดโฟกัสอยู่บนเส้นตรง x -y -2 = 0 และจุดยอดอยู่จุด(4,0)

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบ 4. จงหาสมการของพาราโบลาที่มีแกนของพาราโบลาขนานกับแกน Y โดยจุดโฟกัสอยู่ที่จุด (2, 2) และจุดยอดอยู่บนเส้นตรง y = x -2

บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.2 พาราโบลา ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบ 5. จงหาสมการพาราโบลาที่มีอุดยอดอยู่บนเส้นตรง y = x + 2 มีเส้นตรง y = 2 เป็นแกนของพาราโบลา และมีเส้นตรง X = 2 เป็น Latus rectum