การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ
ขอบเขตการศึกษา 1.ความหมายของน้ำสะอาด 2.ประโยชน์ของน้ำ 3.วัฏจักรของน้ำ 4.แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค
ขอบเขตการศึกษา 5.คุณสมบัติของน้ำ 6.ปริมาณการใช้น้ำ 7.องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการใช้น้ำ 8.วิธีการจัดหาน้ำสะอาด 9.การปรับปรุงคุณภาพน้ำ 10. ระบบประปา
ความหมายของน้ำสะอาด Wagner and Lanoix (1959) น้ำสะอาดและปลอดภัย มีลักษณะสำคัญ คือ ปราศจากเชื้อที่อาจทำให้เกิดโรคโดยน้ำเป็นสื่อ ไม่มีสารพิษเจือปน และหากมีแร่ธาตุหรือสารบางอย่างปนอยู่ ต้องไม่เกินกว่ามาตรฐานที่กำหนด
โกมล ศิวะบวรและเลิศ ไชยณรงค์(2539) น้ำสะอาด คือ น้ำที่ใส ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่มีแร่ธาตุ สารพิษ หรือกัมมันตรังสี ตลอดจนเชื้อโรคปนอยู่ หรือถ้าจะปะปนอยู่ก็ต้องไม่เกินมาตรฐานความปลอดภัยที่กำหนดไว้สำหรับอุปโภค-บริโภค
สรุป น้ำสะอาดและปลอดภัย มีลักษณะสำคัญ 3 ประการ คือ 1.ไม่มีสารพิษเจือปน 2.ปราศจากเชื้อโรคที่อาจทำให้เกิดโรคโดยน้ำเป็นสื่อ 3.หากมีแร่ธาตุหรือสารบางอย่างปนอยู่ต้องไม่เกินกว่าที่มาตรฐานกำหนด
ประโยชน์ของน้ำ 1.ประโยชน์ทางตรง 1.ใช้ดื่ม เพื่อช่วยในการย่อยอาหารและละลายเกลือแร่ต่างๆ 2.ช่วยขับถ่ายสิ่งที่ร่างกายไม่ต้องการ 3.น้ำเป็นตัวหล่อลื่นทำให้หนังและข้อต่างๆชุ่มชื้น 4.ใช้ชำระร่างกายเพื่อล้างสิ่งสกปรก 5.ใช้ซักล้างอุปกรณ์ เครื่องใช้ ตลอดจนเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม
ประโยชน์ของน้ำ 2.ประโยชน์ทางอ้อม 2.1 ใช้ในกิจการประปา 2.2 ใช้ในการกสิกรรมและการเลี้ยงสัตว์ 2.3 ใช้ในการอุตสาหกรรม 2.4 ใช้เป็นพลังงาน
ประโยชน์ของน้ำ 2.6 ใช้ในการขับเคลื่อนและชำระล้าง สิ่งสกปรกในระบบท่อ 2.5 ใช้ในการคมนาคม 2.6 ใช้ในการขับเคลื่อนและชำระล้าง สิ่งสกปรกในระบบท่อ 2.7 ใช้ในการดับเพลิง 2.8 ใช้เป็นแหล่งพักผ่อน การท่องเที่ยว
วัฎจักรของน้ำ (Water cycle)
วัฎจักรของน้ำ (Water cycle) แหล่งน้ำ 1.แหล่งน้ำจากบรรยากาศ 2.แหล่งน้ำผิวดิน 3.แหล่งน้ำใต้ดิน
คุณสมบัติของน้ำ (Properties of water) 1.คุณสมบัติทางกายภาพ 2.คุณสมบัติทางเคมี 3.คุณสมบัติทางชีวภาพ
คุณสมบัติทางกายภาพ 1.ความขุ่น(Turbidity) 2.สี (Color) 3.กลิ่น (Odor) 4.รส (Taste) 5.อุณหภูมิ (temperature)
1.ค่า DO 2.ค่า BOD 3.ค่า COD 4.ค่า pH คุณสมบัติทางเคมี 1.ค่า DO 2.ค่า BOD 3.ค่า COD 4.ค่า pH
5.ความเป็นกรด 6.ความเป็นด่าง 7.ความกระด้างของน้ำ 8.แร่ธาตุอื่นๆ คุณสมบัติทางเคมี 5.ความเป็นกรด 6.ความเป็นด่าง 7.ความกระด้างของน้ำ 8.แร่ธาตุอื่นๆ
คุณสมบัติทางชีวภาพ แบคทีเรียที่ปนอยู่ในน้ำ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.พวกที่ก่อโรคในคน 2.พวกที่ไม่เป็นอันตรายละอยู่ในลำไส้คนและสัตว์มากที่สุด “Coliform Bacteria”
ปริมาณการใช้น้ำ 1.การใช้น้ำในที่พักอาศัย 2.การใช้น้ำในกิจการพานิชยกรรมและอุตสาหกรรม 3.การใช้น้ำเพื่อกิจการเลี้ยงสัตว์ 4.การใช้น้ำเพื่อกิจการสธารณ 5.การสูญเสียของน้ำ
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการใช้น้ำ 1.ขนาดของชุมชน 2.จำนวนโรงงานทีมีในชุมชน 3.คุณภาพของน้ำ 4.ราคาของน้ำ
องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการใช้น้ำ 5.สภาพอากาศ 6.มาตรฐานการครองชีพ 7.ความดันน้ำในระบบการจ่าย 8.ระบบการบริหารกิจการประปา
วิธีการจัดหาน้ำสะอาด แหล่งน้ำ วิธีจัดหา น้ำฝน จัดหาภาชนะเก็บกักน้ำ เช่น ตุ่มน้ำฝน, ถังน้ำฝน น้ำใต้ดิน -บ่อขุด -บ่อบาดาล -บ่อเจาะ (บ่อบาดาล) - การจัดทำระบบประปา
วิธีการจัดหาน้ำสะอาด แหล่งน้ำ วิธีจัดหา น้ำผิวดิน เช่น ฝาย - การต้ม เขื่อน แม่น้ำ คลอง -การกรอง -ใส่คลอรีน -การจัดทำระบบประปา
การปรับปรุงคุณภาพน้ำ 1.การต้ม 2.การกลั่น 3.การใช้สารเคมี 4.การกรอง
ระบบประปา 1.ผลิตน้ำสะอาดเพื่อใช้ในการอุปโภค-บริโภค 2.ผลิตน้ำให้เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้น้ำ 3.พร้อมที่จะแจกจ่ายน้ำให้กับผู้ที่ต้องการใช้น้ำ อย่างทั่วถึง
หลักการพิจารณาในการผลิตน้ำประปา 1.มีการวางแผน การออกแบบและประมาณการ 2.คำนวณปริมาณน้ำที่จะผลิตต่อ 3.พิจารณาแหล่งน้ำที่จะนำมาทำระบบประปา 4.พิจารณาวิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ำดิบ 5.จัดระบบบริการจ่ายน้ำให้เหมาะสม
วิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ำในการผลิตน้ำประปา Aeration Coagulation Sedimentation Filtration
วิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ำในการผลิตน้ำประปา Filtration Disinfection . Distribution