โปรแกรมย่อย (Sub Program)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Advertisements

บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
CS Assembly Language Programming
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
Repetitive Statements (Looping)
ฟังก์ชั่น function.
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
Repetitive Instruction
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โปรแกรมย่อย : Pascal Procedure
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
WHILE..DO คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ โดยที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนที่จะทำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 7 การกำหนดชนิดข้อมูลใหม่
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอริธึม (Performance Analysis)
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
บทที่ 5 ฟังก์ชันของ PHP การประกาศฟังก์ชัน { Statement; }
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
การสร้างและใช้งานฟังก์ชั่น
Chapter 16 / Unit 77 : VB : Subprogram & Function Senior Cybernaut ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย SL102017/04C /ISSUE2.
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
Names, Scopes and Bindings ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The Concept of Binding Categories of variables by lifetimes –Static bound to memory cells before execution.
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
โครงสร้างภาษาซี C ++ structure
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
Chapter 9 ตัวชี้ pointer.
Data Structure & Algorithm Concept
ภาษา C เบื้องต้น.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
Data Structure and Algorithm
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ ของ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
Chapter 7 ฟังก์ชัน Function.
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
อุทธรณ์,ฎีกา.
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
Chapter 5: Function.
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมย่อย (Sub Program)

สร้างขึ้นมาเพื่อ อำนวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม เพื่อแบ่งการทำงานของโปรแกรมออกเป็นส่วน ๆ ตามหน้าที่การทำงาน มีอยู่ 2 ประเภท ฟังก์ชั่น (Function) โพรซิเยอร์ (Procedure)

ตำแหน่งของโปรแกรมย่อย อยู่ที่ส่วนของการประกาศ (Declaration Part)

ส่วนประกอบของโปรแกรมย่อย ประกอบด้วย 3 ส่วน เหมือนกับในส่วนของโปรแกรมหลัก ส่วนหัว ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Heading) ส่วนประกาศ ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Declaration Part) ส่วนคำสั่ง ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Statement Part)

ส่วนหัว ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Heading) ใช้ในการประกาศ ชื่อของ โปรแกรมย่อย ใช้ในประกาศข้อมูลที่ส่งให้กับโปแกรมย่อย และข้อมูลที่ส่งกลับมาจากโปรแกรมย่อย ส่วนประกาศ ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Declaration Part) ใช้ในการประกาศ ชนิดข้อมูล, ค่าคงที่, ตัวแปร ที่ใช้ในโปรแกรมย่อย

ส่วนคำสั่ง ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Statement Part) ใช้ในการประกาศ โปรแกรมย่อย ที่ถูกเรียกใช้งาน ในโปรแกรมย่อยนี้ ส่วนคำสั่ง ของโปรแกรมย่อย (Sub Program Statement Part) เป็นส่วนที่เป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมย่อย ขึ้นต้อนด้วยคำว่า begin จบด้วยคำว่า end;

ฟังก์ชั่น (Function) ตัวอย่างของ ฟังก์ชั่นที่มีใช้งานในภาษาปาสคาลเช่น การหารากที่ 2 การหาค่ายกกำลัง 2 การหาค่าของ ex นอกจากนี้ผู้ใช้งาน ยังสามารถเขียนฟังก์ชั่นขึ้นมาใช้งาน เพิ่มเติม ตามความต้องการ

การประกาศส่วนหัวของฟังก์ชั่น Identifier คือส่วนที่ใช้ประกาศชื่อของ ฟังก์ชั่น Parameter list คือส่วนที่ใช้ในการประกาศ ค่าต่าง ๆ ที่ส่งให้กับฟังก์ชั่น Type of return value คือชนิดของข้อมูลที่ฟักช์ชั่นนั้น ส่งค่ากลับคืน

การประกาศในส่วน ของ Parameter list ตัวอย่างฟังก์ชั่น มาตรฐานของภาษาปาสคาล เช่น SQRT(X) : Parameter ที่ส่งให้ฟังก์ชั่นคือ x, ค่าที่ฟังก์ชั่นนี้ ส่งกลับคือ ข้อมูลชนิด Real

ตัวอย่างการประกาศส่วนหัวของ ฟังก์ชั่น Function example1(a : integer) : integer; Function example2(a, b : integer) : Boolean; Function example3(a : integer; b : real) : real; Function example4(var a : integer) : integer; Function example5(a : integer; var b : integer) : integer; Function example6(var a : integer; b,c : integer) : char;

Global variable VS Local Variable คือ ตัวแปรที่ประกาศ ที่ส่วน Declaration part ของ Main program สามารถเรียกใช้งานได้ Main program และโปรแกรมย่อยทุกโปรแกรม Local Variable คือ ตัวแปรที่ประกาศในส่วน Declaration part ของโปรแกรมย่อย สามารถเรียกใช้งานได้จากโปรแกรมย่อยที่เป็นผู้ประกาศเท่านั้น โปรแกรมย่อยอื่น และ Main program จะไม่สามารถเรียกใช้งานได้

Program Ex1(input, output); Var a,b : integer; Function Sub_Program1 (x,y : integer) : integer; Var c : integer; begin c := x + y; Sub_Program1 := c; {การส่งค่ากลับจากฟังก์ชั่น} end; Begin a := 5; b := 10; a := Sub_Program1(a,b); write(a); End.

ชนิดของ Parameter คือ ข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อระหว่างโปรแกรมย่อย กับโปรแกรมหลัก มีอยู่ 2 ประเภท คือ Actual Parameter คือ พารามิเตอร์ที่ใช้ในการส่งข้อมูลจากโปรแกรมหลัก ไปยังโปรแกรมย่อย Formal Parameter คือ พารามิเตอร์ที่ใช้ทำการรับข้อมูล เพื่อนำมาใช้งานในโปรแกรมย่อย

จากตัวอย่างโปรแกรม ตัวแปร a และ b คือ Actual Parameter ตัวแปร x และ y คือ Formal Parameter ฟังก์ชั่น Sub_Program1 ส่งค่ากลับเป็นข้อมูลชนิด integer การส่งค่ากลับทำได้โดยใช้คำสั่ง Assignment Statement ดังแสดงในบรรทัดสุดท้ายของฟังก์ชั่น Sub_Program1

ตัวแปรที่ประกาศในโปรแกรมย่อย สามารถตั้งซ้ำกับตัวแปรที่ประกาศในส่วนของ Main program หรือโปรแกรมย่อยอื่นได้ ถ้ามีการเรียกใช้งานตัวแปร ในโปรแกรมย่อย ในกรณีที่มีชื่อซ้ำกับ Main program หรือโปรแกรมย่อยอื่น จะหมายถึงการเรียกใช้ตัวแปรที่ประกาศในโปรแกรมย่อยนั้น

Program Demo1(input, output); Var x,b : integer; Function Sub_demo (b : integer) : integer; begin b := SQR(x) + 10; Sub_demo := b; end; Begin x := 10; b := 5; x := Sub_demo(x); write(b,x); End.

การส่งค่า Parameter มีวิธีการส่งค่าให้กับโปรแกรมย่อยอยู่ 2 แบบ คือ 1. ส่งแบบให้ค่า (Pass by value) 2. ส่งแบบอ้างอิง (Pass by reference) ส่งแบบให้ค่า (Pass by value) การส่งค่าด้วยวิธีนี้ โปรแกรมย่อยจะทำการสร้างตัวแปรขึ้นมารองรับ ถ้าค่าข้อมูลในตัวแปรเปลี่ยนแปลงไปจะไม่มีผลกับค่าข้อมูลที่ Main program ส่งมาให้โปรแกรมย่อย

ส่งแบบอ้างอิง (Pass by reference) โปรแกรมย่อยจะทำการสร้างตัวชี้ (Pointer) เพื่อชี้ไปยังช่องเก็บข้อมูลของโปรแกรมหลัก ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนั้น ถ้าค่าข้อมูลในตัวแปรเปลี่ยนแปลงไปจะส่งผลให้ข้อมูลที่ Main program เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย การประกาศเพื่อใช้งานการส่งค่าแบบอ้างอิง จะประกาศโดยใช้คำว่า Var ขึ้นต้น

Program Pass_Parameter(input, output); Var a,b : integer; ans : integer; Function Pass_Para(x : integer ; Var y : integer) : integer; begin x := x + 35; y := y – 15; Pass_Para := x – y; end; Begin a := 10; b := 20; ans := Pass_Para(a, b); write(a, b, ans); End.