การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Gene and Chromosome UMAPORN.
Advertisements

แนวโน้มอนามัยการเจริญ พันธุ์ ระหว่างปี 2549 และ 2552 การสำรวจอนามัยการเจริญพันธุ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ Health Equity Monitoring Network : HEM-Net.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ ทางพันธุกรรม
LOGO NLiS-TH Nutrition Landscape Information System Thailand
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
จากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
เอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
การทำงานเชิงวิเคราะห์
เอกสารในการนำเข้าและส่งออก
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
Introduction to Analog to Digital Converters
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
ระเบียบวาระการประชุม วันพุธที่ ๒๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
รายละเอียดการแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
โรคทางพันธุกรรม คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือของโครโมโซมโครโมโซม  ตั้งแต่แรก เกิดหรือตั้งแต่ปฏิสนธิ หรืออาจเกิดการผิดปกติได้ในภายหลัง ทำให้มีผลเกิดภาวะผิดปกติทางร่างกาย.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Animal Health Science ( )
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
Health Literacy การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
วัตถุประสงค์การวิจัย
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
วิชาการผลิตสุกรพันธุ์ระดับปวช.
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
PA Mother & Child Health
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป

ร้อยละการตั้งครรภ์ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป (พ.ศ.2554-2558) ข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2558

ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ในแม่อายุ 35 ปีขึ้นไป ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์ การแท้งบุตร ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ครรภ์เป็นพิษ เป็นต้น) ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (การตั้งครรภ์นอกมดลูก ครรภ์แฝด) การคลอดก่อนกำหนด เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ความเครียดและวิตกกังวล

ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ในแม่อายุ 35 ปีขึ้นไป ผลกระทบต่อทารกในครรภ์ ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low brith weight) ความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก - Down’s syndrome - Edward’s syndrome - Patau’s syndrome ทารกเสียชีวิตขณะอยู่ในครรภ์มารดา

ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการกำหนดมาตรการทางสังคมเพื่อขับเคลื่อน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย พัฒนากระบวนการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง - การเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ - การส่งเสริมและดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ - การส่งเสริมสุขภาพแม่และลูกหลังคลอด

ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป ผลักดันให้การตรวจสุขภาพของคู่หญิงชายก่อนแต่งงาน/มีบุตร/ การรักษาภาวะมีบุตรยาก บรรจุอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ สร้าง Health Literacy ในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ35ปีขึ้นไป -หญิงตั้งครรภ์ -ครอบครัว/ผู้ดูแล -ชุมชน พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป -เจ้าหน้าที่สาธารณสุข -อสม. -สนับสนุนงานวิจัยด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

ขอบคุณคะ