วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การสุ่มตัวอย่างและเครื่องมือวิจัย
Chapter 7: Point Estimation
Chapter 8: Interval Estimation
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
Probability & Statistics
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
Sampling การสุ่มตัวอย่าง.
วิจัย (Research) คือ อะไร
(Descriptive Statistics)
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ISC2102 สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ความรู้เบื้องต้นเรื่องการวิจัย
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
บทที่ 1 สถิติเชิงพรรณนา สถิติเบื้องต้น โปรแกรม R เบื้องต้น
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
บทที่ 5 หลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การกำหนดประเด็นปัญหา
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
กระบวนการเรียนการสอน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
สมมติฐานการวิจัย.
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
การประเมินราคา (Cost estimation).
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4 ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง (Population and Sample) โดย ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย

Population Sample

สรุป ประชากร หมายถึง ทั้งหมดของทุกหน่วยของสิ่งที่เราสนใจศึกษา ซึ่งหน่วยต่าง ๆ อาจเป็น บุคคล กลุ่มบุคคลองค์กร สัตว์ สิ่งของ หรืออื่น ๆ สรุป กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง บางส่วนของประชากรของสิ่งที่เราสนใจศึกษา ซึ่งถูกเลือกมาเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร

Population Sample ลักษณะกลุ่มตัวอย่างไม่ดี

กลุ่มตัวอย่าง ประชากร ลักษณะกลุ่มตัวอย่างที่ดี อ้างอิงไปสู่ กลุ่มตัวอย่าง ประชากร

เหตุผลการเลือกกลุ่มตัวอย่าง เสียเวลา และเสียแรงงาน เสียค่าใช้จ่าย น้อยกว่าศึกษาจากประชากรทั้งหมด สะดวกในการปฏิบัติมากกว่า ยืดหยุ่นได้ดีกว่า และความคุม แก้ไขความผิดพลาดได้ดีกว่า

กลุ่มตัวอย่างที่ดี เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ควรได้มาโดยใช้หลักความน่าจะเป็น (สุ่ม) ขนาดพอเหมาะ

ขั้นตอนการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ให้คำจำกัดความของประชากร และกำหนดขอบเขต ประมาณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง กำหนดเทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ลงมือปฏิบัติเลือกกลุ่มตัวอย่าง

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 1. การสุ่มอย่างง่าย 2. การสุ่มอย่างมีระบบ 3. การสุ่มแบบแบ่งชั้น 4. การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม 5. การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (1) เลือกโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น 1. การเลือกโดยบังเอิญ 2. การเลือกโดยใช้โควตา 3. การเลือกโดยใช้เกณฑ์ ของผู้วิจัย 4. การเลือกโดยวิธีสโนว์บอล (2) เลือกโดยใช้หลักความน่าจะเป็น

(1) เลือกโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น วิธีการเลือกแบบไม่คำนึงถึงว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับเลือกมานั้นจะมีความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะได้รับเลือกมานั้นเป็นเท่าใด เป็นการสุ่มตัวอย่างที่ขึ้นอยู่กับ การควบคุม หรือการตัดสินใจของผู้วิจัยเป็นอย่างมาก (1) เลือกโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น

1. การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) /การเลือกแบบตามสะดวก (convenience sampling) • การเลือกตัวอย่างแบบนี้ไม่มีกฎเกณฑ์จะสุ่มใครก็ได้ที่สามารถ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการศึกษา • การเลือกตัวอย่างแบบนี้เป็นการสุ่มตัวอย่างที่ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ แน่นอนถือเอาความสะดวก หรือความง่ายในการเก็บข้อมูลเป็นหลัก • กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ผลที่ได้ไม่สามารถ อ้างอิงได้อย่างเที่ยงตรง

2. การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) การเลือกตัวอย่างแบบนี้เป็นการเลือกตัวอย่างที่ผู้วิจัยกำหนดคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เหตุผล หรือหลักเกณฑ์ส่วนตัวที่กำหนดขึ้นเองเป็นเกณฑ์ในการเลือกตัวอย่าง โดยปกติมักใช้วัตถุประสงค์บางประการของการวิจัยเป็นเครื่องช่วยตัดสิน

3. การเลือกตัวอย่างแบบโควตาหรือการเลือกโดย กำหนดสัดส่วน (quota sampling) การเลือกตัวอย่างแบบนี้ เป็นการเลือกที่ผู้วิจัยกำหนดจำนวนของตัวอย่างตามลักษณะที่ต้องการและเลือกตามสัดส่วนของตัวอย่างในกลุ่มย่อย ๆ

4. การเลือกตัวอย่างแบบลูกโซ่ (snowball sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยการแนะนำของ หน่วยตัวอย่างที่ได้เก็บข้อมูลไปแล้ว

(2) เลือกโดยใช้หลักความน่าจะเป็น เป็นการเลือกตัวอย่างที่คำนึงถึงความน่าจะเป็น หรือโอกาสของสมาชิกแต่ละหน่วยที่จะได้รับเลือก ซึ่งสมาชิกทุก ๆ หน่วยของกลุ่มประชากรจะมีความน่าจะ เป็น หรือโอกาสที่จะได้รับเลือกคงที่ (2) เลือกโดยใช้หลักความน่าจะเป็น

การสุ่มอย่างง่าย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง อ้างอิงไปสู่

1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (simple random sampling) วิธีนี้เป็นการสุ่มตัวอย่างจากสมาชิกประชากรโดยตรง เป็นวิธี ที่ทุกหน่วยของสมาชิกมีโอกาสถูกเลือกเท่ากัน วิธีนี้ง่ายและใช้ได้ดีในกรณีที่ประชากรที่ต้องการศึกษามีคุณลักษณะและคุณสมบัติใกล้เคียงกัน หรือมีความเป็นเอกพันธ์ (homogeneous) และรู้ขนาดประชากรซึ่งเหมาะกับการเลือกประชากรที่มีจำนวน ไม่มากนัก

การสุ่มอย่างง่าย สามารถใช้ • วิธีการสุ่มโดยการจับฉลาก • วิธีการสุ่มโดยใช้ตารางเลขสุ่ม

2. การสุ่มแบบมีระบบ (systematic random sampling) การสุ่มโดยวิธีนี้ใช้ในกรณีที่หน่วยตัวอย่างของกลุ่มประชากรจัดเรียงไว้เป็นอย่างเป็นระบบอยู่แล้ว เช่น รายชื่อของนักเรียนเรียงตามอักษร เป็นต้น วิธีการสุ่มแบบนี้ผู้วิจัยต้องรู้กรอบของประชากร (population frame) ก่อนว่ามีจำนวนประชากรเท่าใดแล้วให้หมายเลขประชากร จากนั้นต้องกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ต่อไปก็หาช่วงของการสุ่ม (sampling interval)

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง การสุ่มแบบแบ่งชั้น ประชากร กลุ่มตัวอย่าง อ้างอิงไปสู่

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม ประชากร กลุ่มตัวอย่าง อ้างอิงไปสู่

การสุ่มแบบหลายขั้นตอน ใช้เทคนิคการสุ่มเกิน 1 เทคนิค (ไม่นับการสุ่มอย่างง่าย) หรือใช้เทคนิคการสุ่มเดิมหลายครั้ง

ค่าพารามิเตอร์ และค่าสถิติ Population Sample Sampling Descriptive Statistics Statistics Parameter Inferential Statistics (m , s2 , r , ฯลฯ) ( X , S2 , r , ฯลฯ) Estimation Hypothesis Testing