วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Circuits Design
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 12 AC.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
บทที่ 7 วงจรไบอัสกระแสตรง
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE, NU
Network Function Piyadanai Pachanapan.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
แรงดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า ในระบบ 3 เฟส
การวิเคราะห์วงจรสายส่ง Transmission Line Analysis
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้า
Power System Engineering
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE NU
แบบจำลองของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Modeling
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Electronics.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Basic Input Output System
พารามิเตอร์สายส่ง Transmission Line Parameters
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
Power Flow Calculation by using
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
Sequence Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network) Piyadanai Pachanapan

การวิเคราะห์วงจรข่ายสองทาง การวัดสัญญาณระหว่าง ด้านทางเข้า และ ด้านทางออก โดย จัดวงจรข่ายที่ต้องการวิเคราะห์ให้มีเพียงด้านทางเข้าและทางออก เขียนองค์ประกอบของวงจรข่ายด้วยพารามิเตอร์ที่แทนลักษณะของวงจรข่าย ให้เหลือเพียงพารามิเตอร์เพียง 4 ตัวแปร

One Port One Port การแทนวงจรที่พิจารณาด้วย Black box และ ทางเข้า 1 ทาง สนใจเฉพาะลักษณะภายนอกของวงจรข่าย สนใจแค่ค่า แรงดัน Port กับ กระแส Port ( i(.), v(.) )

Impedance Function : Admittance Function :

การหาพารามิเตอร์ของ One Port อาจจะหาได้จาก Thevenin Equivalent Circuit Norton Equivalent Circuit Thevenin Norton

Thevenin Equivalent Network Norton Equivalent Network

Two Port Two Port คือ วงจรข่าย (Network) ที่มี 4 ขั้ว (4 terminal) ถูกแบ่งเป็น 2 คู่ คือ 1-1’ และ 2-2’ กระแสที่ไหลเข้า 1 มีค่าเท่ากับกระแสที่ไหลออก 1’ กระแสที่ไหลเข้า 2 มีค่าเท่ากับกระแสที่ไหลออก 2’

ความแตกต่างระหว่าง Network กับ Two port คือ  ค่ากระแสและแรงดันในแต่ละกิ่ง - Two – Port คือ สนใจเพียงแค่ตัวแปร Port (v1, v2, i1, i2) ทางซ้ายของ Port เรียก input port  มีแรงดัน v1 และ กระแส i1 ทางขวาของ Port เรียก output port  มีแรงดัน v2 และ กระแส i2 ลักษณะของวงจร Two Port ขึ้นกับรูปคลื่นของสัญญาณ i1(.), v1(.) i2(.), v2(.)

สามารถจำแนกประเภทของวงจร Two Port จากลักษณะวงจรสมมูลที่ได้ เป็น 6 ประเภท

Impedance Metric of Two – Port (Z parameters) ก่อนพิจารณาวงจรสมมูลของ Network ที่เป็น Two Port ต้องสมมติ 1. อุปกรณ์ที่ต่ออยู่ใน Two Port เป็นชนิด Linear Time Invariant 2. พิจารณาเฉพาะ Zero State Response Port Paremeter  v1(.), i1(.)  V1(s), I1(s) v2(.), i2(.)  V2(s), I2(s)

จากทฤษฎี Superposition

จัดรูปแบบได้เป็น : หมายเหตุ ส่วนใหญ่เวลาเขียนรูปสมการไม่ต้องแสดงค่า S

เขียนในรูปแบบเมตริกซ์ได้เป็น : โดยที่ เมตริกซ์ เรียกว่า Open – Circuit Impedance Matrix Zij เรียกว่า Open – Circuit Impedance Parameter

การหา Impedance Parameter (Z – Parameter) จาก พบว่า หา Z11 และ Z21 โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( I2 = 0)

ทำนองเดียวกัน หา Z12 และ Z22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)

Example # 1 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ Z - Parameter

หา Z11 และ Z21 โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( I2 = 0) พบว่า : จะได้ :

หา Z12 และ Z22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0) พบว่า : จะได้ :

จะได้เมตริก Z – Parameter เป็น หน่วยเป็น เขียนเป็นวงจรสมมูลได้เป็น

Example # 2 จากวงจรในรูป จงหา Open – Circuit Impedance Matrix (Z) (1) KVL : (2)

หาคำตอบที่เป็น Zero State Response  intial condition = 0 จากสมการ (1), (2) แปลงลาปลาซได้เป็น

เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น :

เขียนวงจรสมมูล Z Parameter ได้เป็น

วงจรสมมูลแบบ T (T – Equivalent Circuit) จากวงจรสมมูลของ Z parameter พบว่ามี dependent source อยู่ 2 ตัว สามารถเขียนวงจรสมมูลให้มี dependent source เหลือในวงจร 1 ตัว โดย เขียนวงจรสมมูลเป็น T - Equivalent Circuit

EXAMPLE # 3 จากวงจร Ground Base Transister ที่ความถี่ต่ำ มีลักษณะวงจรเป็น T Equivalent Circuit จงเขียนเป็นวงจรสมมูลของ Z parameter

T – equivalent Circuit

Admittance Metric of Two – Port (Y parameters) กระแส Port เป็นผลมาจากแหล่งจ่ายแรงดันที่ต่อเข้ากับ Network yij  Short – Circuit Admittance Parameter

เขียนวงจรสมมูลของ Y- parameter ได้เป็น

เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น โดยที่ Short – Circuit Admittance Matrix มีหน่วยเป็น ซีเมนต์

การหา Admittance Parameter (Y – Parameter) จาก พบว่า หา y11 และ y21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)

ทำนองเดียวกัน หา y12 และ y22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)

Example # 4 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ Y - Parameter

หา y11 และ y21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0) พบว่า : จะได้ :

หา y12 และ y22 โดย ลัดวงจรที่ Port 1 ( V1 = 0) พบว่า : จะได้ :

จะได้เมตริก Y – Parameter เป็น หน่วยเป็น เขียนเป็นวงจรสมมูลได้เป็น

วงจรสมมูลแบบ ( – Equivalent Circuit) จากวงจรสมมูลของ Y parameter พบว่ามี dependent source อยู่ 2 ตัว สามารถเขียนวงจรสมมูลให้มี dependent source เหลือในวงจร 1 ตัว โดย เขียนวงจรสมมูลเป็น - Equivalent Circuit

Node 1 : Node 2 :

Example # 5 จากวงจร pentode ใน common – cathode connection มีวงจรสมมูลเป็นดังรูป จงหา short circuit admittance parameters

จาก Equivalent Circuit

ความสัมพันธ์ระหว่าง Z และ Y พารามิเตอร์ เมื่อ เมื่อ

Example # 6 จากวงจรในรูปมีค่า Z - Parameter เป็น จงหา Y - Parameter

จาก

Hybrid Parameter (H – Parameter) เป็นพารามิเตอร์ของวงจร Two Port ที่มี I1 และ V2 เป็นตัวแปรอิสระ จะได้สมการดังนี้

จากสมการที่ได้ เขียนวงจรสมมูลได้เป็น

การหา Hybrid Parameter (H – Parameter) จาก พบว่า หา h11 และ h21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0)

ทำนองเดียวกัน หา h12 และ h22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0)

เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น โดยที่ Hybrid Matrix

Example # 7 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ H - Parameter

หา h11 และ h21 โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0) พบว่า : จะได้ :

หา h12 และ h22 โดย เปิดวงจรที่ Port 1 ( I1 = 0) พบว่า : จะได้ :

จะได้เมตริก H – Parameter เป็น เขียนเป็นวงจรสมมูลได้เป็น

ความสัมพันธ์ระหว่าง H – Parameter กับ Z - Parameter (1) (2) H – parameter : จาก Z parameter ขจัด I2 โดย : (1) X Z22 (3) (2) X Z12 (4) (3) - (4)

จะได้ เมื่อ = ดีเทอร์มิแนนต์ของ Z จัดรูปสมการใหม่ เทียบกับ H parameter เทียบสัมประสิทธิ์ และ

จาก Z parameter สมการ (2) : จัดรูปแบบใหม่ได้เป็น เทียบกับ H parameter จากการเทียบสัมประสิทธิ์ และ

สามารถเขียนความสัมพันธ์ของ Z และ H พารามิเตอร์ในรูปเมตริกซ์ได้เป็น

A second Hybrid Parameter Hybrid Parameter ในอีกกรณี เกิดจากวงจร Two Port มี V1 และ I2 เป็นตัวแปรอิสระ เรียก G - Parameter จะได้สมการดังนี้

เขียนสมการให้อยู่ในรูปแบบเมตริกซ์ได้เป็น : โดยที่ Hybrid Matrix และสามารถหา G จาก

The Transmission Matrices (Transmission Parameter กระแสและแรงดันทางด้านเข้า จะขึ้นอยู่กับกระแสและแรงดันทางด้านออก นิยมใช้วิเคราะห์สายส่งไฟฟ้า เหมาะสำหรับการวิเคราะห์วงจรข่ายหลายๆ วงจรที่ต่อเชื่อมกัน

ระบบส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า

Transmission Parameter ของสายส่งไฟฟ้าแรงสูง

แบบจำลองสายส่งไฟฟ้า ระยะสายส่งไม่เกิน 80 km ระยะสายส่งระหว่าง 80 km ถึง 240 km

สมการของ Transmission Parameter คือ

การหา Transmission Parameter (T – Parameter) พบว่า หา A และ C โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( I2 = 0)

ทำนองเดียวกัน หา B และ D โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0) A คือ อัตราส่วนแรงดันโอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อเปิดวงจรด้านทางออก D คือ อัตราส่วนกระแสโอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อลัดวงจรด้านทางออก B คือ อิมพีแดนซ์โอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อลัดวงจรด้านทางออก C คือ แอดมิตแตนซ์โอนย้ายรีเวิร์ส เมื่อเปิดวงจรด้านทางออก

เขียนในรูปแบบเมตริก ได้เป็น โดยที่ Transmission Matrix Transmission Parameters และ A, B, C, D

ถ้าต้องการเขียนตัวแปรเอาท์พุต V2 กับ – I2 ในเทอมของตัวแปรอินพุต

Example # 8 จากวงจรในรูป เขียนวงจรสมมูลในรูปของ Transmission - Parameter ต้องการหา Transmission – Parameter จาก

หา A และ C โดย เปิดวงจรที่ Port 2 ( - I2 = 0) พบว่า : จะได้ :

หา B และ D โดย ลัดวงจรที่ Port 2 ( V2 = 0) พบว่า : จะได้ :

จะได้เมตริก Transmission – Parameter เป็น

ความสัมพันธ์ระหว่าง T – Parameter กับ Z - Parameter (1) (2) T – parameter : จาก Z parameter ขจัด I1 โดย : (1) X Z21 (3) (2) X Z11 (4) (3) - (4)

จะได้ เมื่อ = ดีเทอร์มิแนนต์ของ Z จัดรูปสมการใหม่ เทียบกับ T parameter เทียบสัมประสิทธิ์ และ

จาก Z parameter สมการ (2) : จัดรูปแบบใหม่ได้เป็น เทียบกับ T parameter จากการเทียบสัมประสิทธิ์ และ

สามารถเขียนความสัมพันธ์ของ Z และ T พารามิเตอร์ในรูปเมตริกซ์ได้เป็น

ตารางสรุปความสัมพันธ์ระหว่างพารามิเตอร์ต่างๆ

การประยุกต์ใช้งานพารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทาง # 1 จากรูป เป็นวงจรข่ายที่เขียนด้วย Z-Parameter ต่อเข้ากับโหลดขนาด 1 โอห์ม ที่ด้านทางออก จงหา อัตราส่วนกระแส (AI) และ อัตราส่วนแรงดัน (AV) Z – Parameter : (1) (2) จากวงจร : (3)

แทนสมการ (3) ใน (2) จะได้ Z parameter ขจัด I1 โดย : {(1) X Z21 } – {(2) X Z11 } จะได้ เมื่อ

การประยุกต์ใช้งานพารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทาง # 2 จากวงจรในรูป จงหา Y parameter , อัตราส่วนแรงดัน (AV) และ Zout (Output Impedance) Y Parameter :

KCL ที่ Node 1 : (1) KCL ที่ Node 2 : (2)

แทน (1) ใน (2) (3) จากสมการ (1) และ (3) เขียน Y Parameter ได้เป็น

หา AV จากรูปวงจร พบว่ากระแสด้านทางออก คือ (4) แทน (4) ในสมการ (3) ได้เป็น :

หา Zout จากสมการ (3) จาก แทนใน (3) จะได้ จะได้

การต่อวงจรข่ายสองทางแบบขนาน นิยมใช้ Admittance Parameter (Y-Parameter) ในการวิเคราะห์ กระแสไหลเข้า คือ I1 และแยกไหลสองทาง IA1, IB1 กระแสไหลออก คือ I2 และแยกไหลสองทาง IA2, IB2 แรงดันทางด้านเข้า คือ V1 = VA1 = VB1 แรงดันทางด้านออก คือ V2 = VA2 = VB2

พิจารณาที่วงจรข่าย A พิจารณาที่วงจรข่าย B เมื่อนำวงจรข่ายมาขนานกันพบว่า : แรงดัน :

กระแส : แทนค่า IA และ IB ในสมการกระแสข้างบน พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่อขนานกัน คือ

การต่อวงจรข่ายสองทางแบบอนุกรม นิยมใช้ Impedance Parameter (Z-Parameter) ในการวิเคราะห์ กระแสไหลเข้าวงจรข่าย A และ B มีค่าเท่ากัน กระแสไหลออกวงจรข่าย A และ B มีค่าเท่ากัน

ดังนั้น เนื่องจากกระแสของวงจรข่าย A และ B มีค่าเท่ากัน พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่ออนุกรมกัน คือ

การต่อวงจรข่ายสองทางแบบลูกโซ่ (Cascade) นิยมใช้ Transmission Parameter (T-Parameter) ในการวิเคราะห์ T – parameter : เขียนเป็นเมตริก

พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่อแบบลูกโซ่ คือ จากวงจรข่าย พบว่า : V2 = V3 และ I3 = - I2 วงจรข่าย A วงจรข่าย B ดังนั้น พารามิเตอร์ของวงจรข่ายสองทางที่ต่อแบบลูกโซ่ คือ

Example # 9 จากวงจรข่ายสองทางในรูป เป็นวงจรข่ายที่ต่อกันแบบลูกโซ่ จงหาพารามิเตอร์ ทรานสมิชชันของวงจรข่ายนี้ เมตริกซ์วงจรข่ายสองทางที่ต่อกันแบบลูกโซ่

แยกพิจารณาวงจรข่ายออกเป็นวงจรข่าย A และ B วงจรข่าย A : หา [TA] จาก (1) (2)

จัดสมการ (2) ใหม่เป็น : (3) แทนสมการ (3) ใน (1) ได้ (4) จากสมการ (3) และ (4) เขียน T-Parameter ของวงจรข่าย A ได้เป็น

วงจรข่าย B : หา [TB] จาก (5) (6) จัดสมการ (6) ใหม่เป็น : (7) แทนสมการ (7) ใน (5) ได้ : (8) เขียน T-Parameter ของวงจรข่าย B ได้เป็น

หา Transmission Parameter ของวงจรข่ายที่ต่อกันแบบลูกโซ่ในรูป ได้ หน่วยเป็น