โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ ทางพันธุกรรม
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตหลัง ความตาย.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
จากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นาย กองทัพ ปรีเดช เลขที่1ก ชั้นม.5/1
เรื่อง ชีวิตและครอบครัว กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
โรคทางพันธุกรรม.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
ระบบย่อยอาหาร.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
หลุยส์ ปาสเตอร์ Louis Pasteur.
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome

โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ โครโมโซมในร่างกาย ที่มี 22 คู่ หรือ 44 แท่ง สามารถเกิดได้กับ ทุกเพศ และมีโอกาสเกิดได้เท่า ๆ กัน โรคที่เกิดจากความผิดปกติบน ออโตโซม

แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ความผิดปกติที่จำนวนออโตโซม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ความผิดปกติที่จำนวนออโตโซม ความผิดที่รูปร่างโครโมโซม

ความผิดปกติที่จำนวนออโตโซม   เป็นความผิดปกติที่จำนวนออโทโซมใน บางคู่ที่เกินมา 1 โครโมโซม จึงทำให้ โครโมโซมในเซลล์ร่างกายทั้งหมดเป็น 47 โครโมโซม เช่น ออโทโซม 45 แท่ง 1 โครโมโซมเพศ 2 แท่ง

กลุ่มอาการดาวน์ หรือ ดาวน์ซินโดรม ( Down's syndrome)           เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ โครโมโซม โดยสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง คือ มี 3 แท่ง จากปกติที่มี 2 แท่ง ซึ่ง ทางการแพทย์เรียกว่า TRISOMY 21 นอกจากนั้นอาจมี สาเหตุมาจากการย้ายที่ของโครโมโซม เช่น โครโมโซมคู่ที่ 14 มายึดติดกับโครโมโซมคู่ที่ 21 เป็นต้น และยังมีสาเหตุมา จาก มีโครโมโซมทั้ง 46 และ 47 แท่ง ในคน ๆ เดียว เรียกว่า MOSAIC ซึ่งพบได้น้อยมาก           ลักษณะของเด็กดาวน์ซินโดรม จะมีศีรษะค่อนข้างเล็ก แบน และตาเฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ลิ้นมักยื่น ออกมา ตัวเตี้ย มือสั้น อาจเป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด หรือโรคลำไส้อุดตันตั้งแต่แรกเกิด มีภาวะต่อมไทรอยด์ บกพร่อง และเป็นปัญญาอ่อน พบบ่อยในแม่ที่ตั้งครรภ์เมื่อ อายุมาก

กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ดซินโดรม ( Edward's syndrome) เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 18 เกินมา 1 โครโมโซม ทำให้เป็นปัญญาอ่อน ปากแหว่ง เพดานโหว่ คางเว้า นิ้ว มือบิดงอ และกำแน่นเข้าหากัน ปอดและระบบย่อยอาหาร ผิดปกติ หัวใจพิการแต่กำเนิด ทารกมักเป็นเพศหญิง และ มักเสียชีวิตตั้งแต่ก่อนอายุ 1 ขวบ กลุ่มอาการพาทัวซินโดรม ( Patau syndrome) อาการนี้เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 โครโมโซม ทำให้เด็กมีอาการปัญญาอ่อน อวัยวะภายใน พิการ และมักเสียชีวิตตั้งแต่แรกเกิด หรือหากมีชีวิตรอดก็ จะมีอายุสั้นมาก

ความผิดปกติของรูปร่างออโตโซม ความผิดปกติของรูปร่างออโตโซม    เป็นความผิดปกติที่ออโทโซมบาง โครโมโซมขาดหายไปบางส่วน แต่มี จำนวนโครโมโซม 46 แท่ง เท่ากับคน ปกติ 

กลุ่มอาการคริดูชาต์ หรือ แคทครายซินโดรม (cri-du-chat or cat cry syndrome) เกิดจากโครโมโซมคู่ที่ 5 ขาดหายไปบางส่วน ทำ ให้ผู้ป่วยมีศีรษะเล็กกว่าปกติ เกิดภาวะปัญญาอ่อน หน้า กลม ใบหูต่ำ ตาห่าง หางตาชี้ นิ้วมือสั้น เจริญเติบโต ได้ช้า เวลาร้องจะมีเสียงเหมือนแมว จึงเป็นที่มาของชื่อ โรคนี้ว่า แคทครายซินโดรม (cat cry syndrome) กลุ่มอาการเพรเดอร์-วิลลี (Prader-Willi syndrome) เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของ โครโมโซมคู่ที่ 15 ทำให้ผู้ป่วยมีรูปร่างอ้วนมาก มือเท้าเล็ก กินจุ มีความบกพร่องทางสติปัญญา มีพฤติกรรมแปลก ๆ เช่น พูดช้า รวมทั้งเป็นออทิสติกด้วย

THANK YOU