พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to Communication
Advertisements

BURN หมายถึง บาดแผลที่เกิดจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ความร้อนหรือประกายจากกระแสไฟฟ้า เป็นเหตุให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อบาดเจ็บ มีผลให้เกิดอาการช็อค เนื่องจากสูญเสียน้ำเป็นจำนวนมาก.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
โครงสร้างและการทำงานของสัตว์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
ทฤษฎีทางจริยธรรม.
การศึกษา ปริญญาตรี - ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จิตวิทยาการเรียนรู้.
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
EEN3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2 (1-2-3)
โรคกระดูกพรุน.
ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part1) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การอบรมการใช้ยา HAD.
ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
ความรู้เบื้องต้นการส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพเด็ก
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
งานจัดการเรียนการสอน
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสม สำหรับเด็กปฐมวัย
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
แนวทางการดำเนินงาน โครงการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
13 October 2007
บทที่ 6ทฤษฎีเกม Game Theory
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part1) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
สารสื่อนำกระแสประสาท
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
บทที่ 10 พฤติกรรม (Behavior) supreecha swpy 2006.
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
วิธีเข้าระบบทดสอบจริยธรรมตำรวจ
ครูปฏิการ นาครอด.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
ครูปฏิการ นาครอด.
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
บทที่ 7 พฤติกรรมผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน บทที่ 2 ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์

behavior ทบทวน สังคมวิทยา มานุษยวิทยา สหวิทยาการ หมายถึง ....................................... การใช้ศาสตร์หลาย ๆ สาขา เพื่อศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ สาขาวิชาที่เป็นหลักในการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ มีอะไรบ้าง สังคมวิทยา จิตวิทยา behavior มานุษยวิทยา ฯลฯ

ลำดับการนำเสนอ ทบทวน ปัจจัยพื้นฐานทางชีววิทยา ปัจจัยพื้นฐานทางจริยธรรม ปัจจัยพื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สรุป อ้างอิง

ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรมมนุษย์ สังคมวิทยา จิตวิทยา behavior มานุษยวิทยา ฯลฯ ชีววิทยา จริยธรรม

ปัจจัยพื้นฐานทางชีววิทยา เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของอวัยวะต่างๆ ของมนุษย์ ซึ่งเป็นกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ และมีผลต่อการเกิดพฤติกรรม ประกอบด้วย 3 กลไกล ที่สำคัญ ได้แก่ กลไกลที่ทำหน้าที่ตอบโต้ Effectors กลไกลที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อ Nerve cells กลไกลที่ทำหน้าที่รับสัมผัส Receptors

สภาพทางชีววิทยาที่เป็นพื้นฐาน Beh กลไกรับสัมผัส (Receptor) กลไกเชื่อมต่อ (nerve cell) กลไกตอบโต้(effecter) - ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อม ระบบประสาทอัตโนมัติ - กล้ามเนื้อ เอ็น ข้อต่อ ภายใน สมอง ไขสันหลัง ลาย เรียบ หัวใจ มีท่อ ไร้ท่อ - ระบบย่อยอาหาร = อวัยวะภายใน - ระบบไหลเวียนโลหิต ซีรีบรัม ซีรีเบลัม พอนด์ เมดัลลา ประสาทสมอง ประสาทสันหลัง

2. ต่อมไร้ท่อ (Ductless Glands) ขับของเหลวที่เรียกว่า ฮอร์โมน (Hormone) เข้าสู่กระแสโลหิต เพื่อส่งไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย 1. ต่อมมีท่อ (Duct Glands) * ต่อมน้ำตา * ต่อมน้ำลาย * ต่อมน้ำนม * ต่อมเหงื่อ * ต่อมน้ำมันใต้ผิวหนัง

ปัจจัยทางจริยธรรม (Morality) ความหมาย = การมีความคิด เจตคติ และพฤติกรรมไปในทางที่สังคมส่วนรวมยอมรับ ลักษณะทางจริยธรรม 1. ความรู้เชิงจริยธรรม 2. ทัศนคติเชิงจริยธรรม 3. เหตุผลเชิงจริยธรรม 4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม

ปัจจัยทางจริยธรรม (Morality) 1. ความรู้เชิงจริยธรรม = การที่บุคคลรู้ว่าในสังคมของตนในถือว่าการกระทำชนิดใดดีควรกระทำ ชนิดใดควรละเว้น ขึ้นอยู่กับอายุ ระดับการศึกษา และพัฒนาการทางสติปัญญา 2. ทัศนคติเชิงจริยธรรม = ความรู้สึกของบุคคลเกี่ยวกับพฤติกรรมนั้นๆ ว่าชอบหรือไม่ชอบพฤติกรรมนั้นหรือไม่เพียงใด 3. เหตุผลเชิงจริยธรรม = การที่บุคคลให้เหตุผลที่จะกระทำหรือไม่กระทำพฤติกรรมอย่างไดอย่างหนึ่ง 4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม = การที่บุคคลแสดงพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบ และละเว้นการแสดงพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนกฎเกณฑ์หรือค่านิยมในสังคมนั้นๆ

คำถาม การขโมยยาเพื่อรักษาภรรยา เด็กทำแก้วแตก 1 ใบหรือ 2 ใบ เด็กคนไหนทำผิดมากกว่ากัน ? การขโมยยาเพื่อรักษาภรรยา

ขั้นตอนการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ตามทษ.ของ Kohlberg ขั้น 1 เจตนาที่จะหลีกเลี่ยงการโดนลงโทษทางกาย (อายุ 2 – 7 ขวบ) ขั้น 2 เจตนาที่จะแสวงหารางวัลที่เป็นวัตถุสิ่งของ (อายุ 7 – 10 ขวบ ) ขั้น 3 เจตนาที่จะทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ (อายุ 10 – 13 ปี ) ขั้น 4 เจตนาที่จะทำตามกฎระเบียบ กฎหมายและหลักศาสนา (อายุ 13 – 16 ปี ) ขั้น 5 เจตนาที่จะทำในสิ่งที่ตนเห็นว่าถูกว่าควรเพื่อส่วนรวม เป็นตัวของตัวเอง ละอายใจตัวเองเมื่อทำชั่ว เช่นมีหิริ (อายุ 16 – 25 ปี ) ขั้น 6 เจตนาที่จะยึดหลักอุดมคติสากล เป็นแนวทางปฏิบัติ เช่น โอตตัปปะ มนุษย์ธรรม และความเสมอภาค (อายุ 25 ปี ขึ้นไป )

ขั้นตอนการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม ตามทษ.ของ Kohlberg ขั้น 1 อายุ 2 – 7 ขวบ เจตนาที่จะหลีกเลี่ยงการโดนลงโทษทางกาย เช่น กลัวการโดนตี กลัวติดคุก เป็นต้น ขั้น 2 อายุ 7 – 10 ขวบ เจตนาที่จะแสวงหารางวัลที่เป็นวัตถุสิ่งของ เช่น ปัจจัย 4 และเงิน ขั้น 1 และขั้น 2 เป็นระดับก่อนเกณฑ์ เป็นลักษณะทางจิตใจที่มีทั้งในสัตว์และมนุษย์ โดยไม่จำเป็นต้องพัฒนาก็จะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ

ขั้น 3 อายุ 10 – 13 ปี เจตนาที่จะทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ (อับอายผู้อื่นที่จะรู้เห็นความชั่วของตน) ขั้น 4 อายุ 13 – 16 ปี เจตนาที่จะทำตามกฎระเบียบ กฎหมายและหลักศาสนา เพราะเห็นความสำคัญและประโยชน์ของสิ่งเหล่านี้เพื่อส่วนรวม ขั้น 3 และขั้น 4 เรียกว่าระดับตามกฎเกณฑ์เป็นลักษณะทางจิตใจที่จะต้องพัฒนาหรืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจึงจะเกิด เป็นลักษณะมนุษย์ที่มีจิตใจเป็นมนุษย์

ขั้น 5 ผู้ใหญ่ตอนต้น เจตนาที่จะทำในสิ่งที่ตนเห็นว่าถูกว่าควรเพื่อส่วนรวม เป็นตัวของตัวเอง ละอายใจตัวเองเมื่อทำชั่ว ภูมิใจในตัวเองเมื่อทำดี เช่นมีหิริ ขั้น 6 ผู้ใหญ่ตอนกลาง เจตนาที่จะยึดหลักอุดมคติสากล เป็นแนวทางปฏิบัติ เช่น โอตตัปปะ มนุษย์ธรรม และความเสมอภาค ขั้น 5 และขั้น 6 เรียกว่าระดับเหนือเกณฑ์ เป็นลักษณะทางจิตใจที่จะต้องขึ้นอยู่กับระดับความสมบูรณ์ เป็นลักษณะของมนุษย์ที่มีจิตใจเหนือมนุษย์

แบบสอบถาม ถ้าท่านมีโอกาสให้คำปรึกษาแก่คนที่รู้จัก ที่กำลังตัดสินใจว่าจะเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาหรือไม่ ถ้าท่านเห็นว่าเขาควรเรียนต่อ จะให้เหตุผลกับเขาว่าอย่างไร .......ควรเรียนให้มาก ๆ เพื่อจะได้เป็นที่พึ่งแก่ตนเองและผู้อื่นเมื่อโตขึ้น .......การเรียนให้มากจะช่วยให้ไม่ต้องทำงานที่เหนื่อยมาก ลำบากกาย .......คนที่มีความรู้จะทำตัวให้เป็นประโยชน์แก่ตนเองและสังคมได้มาก .......การเรียนให้มากจะทำให้มีกินมีใช้อย่างสมบูรณ์พูนสุข .......ถ้ามีคนส่งให้เรียน หน้าที่ของคนวัยนี้คือเรียนหาความรู้ให้เต็มที่ .......ควรเรียนให้มาก เพราะใครๆ ก็ชอบคบหาสมาคมด้วย

ทฤษฎีจริยธรรม ทษ.การเรียนรู้ทางสังคม (social Learning Theory) เชื่อว่าสิ่งแวดล้อมทางสังคมเป็นตัวกำหนดเงื่อนไขทางสังคมให้แก่เด็ก โดยยึดหลักการเสริมแรง 1.1 ต้นกำเนิดของพฤติกรรม เชื่อว่า พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการเรียนรู้ การเรียนรู้มี 2 แบบ - การเรียนรู้จากผลกรรม - การเรียนรู้จากการสังเกตตัวแบบ 1.2 ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม มี 2 ประเด็น - ตัวแบบ - ผลการที่คาดหวัง / ผลกรรมที่เป็นจริง

ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย เป็นทฤษฎีทางจิตวิทยาทฤษฎีแรกของนักการศึกษาไทยที่สร้างขึ้น บุคคลผู้รวบรวมเขียนเป็นทฤษฎี คือ ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน กรอบแนวคิดที่เป็นจุดเด่นของทฤษฎีนี้มีความว่า ลักษณะพื้นฐานและองค์ประกอบทางจิตใจซึ่งจะนำไปสู่พฤติกรรมที่พึงปรารถนา เพื่อส่งเสริมให้บุคคลเป็นคนดีและ คนเก่ง

ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย 1. ส่วนของดอกผล เปรียบเสมือนเป็นลักษณะพฤติกรรมคนดีและเก่ง การที่ต้นไม้จะให้ดอกผลใหญ่จะต้องมีลำต้นและรากที่สมบูรณ์

ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย 2. ส่วนของลำต้นที่สมบูรณ์ เปรียบเสมือนลักษณะทางจิตใจ ซึ่งเป็นสาเหตุของพฤติกรรมที่ดีมี 5 ประการ คือ ประการที่ 1 มีทัศนคติ ค่านิยมที่ดี และคุณธรรม ประการที่ 2 มีเหตุผลเชิงจริยธรรม ประการที่ 3 ลักษณะมุ่งอนาคต คาดการณ์ไกล ประการที่ 4 เชื่ออำนาจในตน ประการที่ 5 มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ลักษณะทางจิตใจทั้ง 5 ประการนี้ ถ้ามีมากในบุคคลใด บุคคลนั้นจะเป็นผู้มีพฤติกรรมเก่งและดีอย่างสม่ำเสมอ

ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย 3. ส่วนของรากต้นไม้ เปรียบเสมือนลักษณะทางจิตที่เป็นพื้นฐานที่จะชอบไชหาอาหารเลี้ยง ลำต้นให้สมบูรณ์มี 3 ประการ คือ ประการที่ 1 สติปัญญา ประการที่ 2 ประสบการณ์ทางสังคม ประการที่ 3 สุขภาพจิตดี

ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย บุคคลที่มีลักษณะพื้นฐานทางจิตทั้งสามประการนั้นสูง และเหมาะสมกับอายุ เปรียบได้กับคนที่เป็นบัวเหนือน้ำในพุทธศาสนา ซึ่งพร้อมจะรับการพัฒนา ทฤษฎีต้นไม้ จริยธรรมของคนไทยจึงให้ข้อสรุปว่า ถ้าต้องการพัฒนาคนให้เป็นคนเก่งและดี จะต้องพัฒนาลักษณะจิตใจ ทั้ง 8 ประการที่ระบุไว้ที่ลำต้นและรากต้นไม้

ปัจจัยพื้นฐานทางสังคม และมานุษยวิทยา สภาพแวดล้อมเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ในการอธิบายพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่ง เป็นผลมาจากการที่มนุษย์พยายามที่จะปรับตัวเพื่อที่จะอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข 1. ครอบครัว มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์มากที่สุด ครอบครัวแตก เด็กมีความก้าวร้าว เปิดโอกาสให้ซักถาม เด็กมีความกล้าแสดงออก

ปัจจัยพื้นฐานทางสังคม และมานุษยวิทยา 2. สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น บุคคลที่มีพื้นฐานวัฒนธรรมต่างกัน เช่น ประเพณี ความเชื่อ ศาสนา ส่งผลให้บุคคลมี ความเชื่อ ค่านิยม และพฤติกรรมต่างกันไป - คนท้องนั่งขวางบันได ทำให้คลอดลูกยาก - เด็กชี้รุ้งแล้วทำให้นิ้วกุด

ปัจจัยพื้นฐานทางสังคม และมานุษยวิทยา 3. สถานบันการศึกษา ครูดี เพื่อนดี สังคมดี บรรยากาศดี พฤติกรรมดี 4. สถานบันศาสนา ปฏิบัติตามคำสอน พฤติกรรมดี เหมาะสม 5. สื่อมวลชน สื่อดี มีประโยชน์ พฤติกรรมดี สื่อไม่ดี ขาดจริยธรรม พฤติกรรมไม่ดี ไม่เหมาะสม

สรุป พฤติกรรมมนุษย์มีสาเหตุมาจากปัจจัยต่างๆในภาพรวม ได้แก่ ปัจจัยทางชีววิทยา อาทิ กลไกที่ทำหน้าที่รับสัมผัส กลไกที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อและกลไกที่ทำหน้าที่ตอบโต้ ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม มีจิตลักษณะที่สำคัญ 5 ด้านที่เป็นส่วนของลำต้นอันประกอบด้วย เหตุผลเชิงจริยธรรม ลักษณะมุ่งอนาคตและควบคุมตนเอง ความเชื่ออำนาจในตน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ทัศนคติต่อพฤติกรรมนั้นๆ ส่วนปัจจัยทางสังคมนั้นเป็นปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมได้แก่ สภาพในครอบครัว สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมและสถาบันทางสังคมต่างๆ ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดพฤติกรรมของคนเรา

บรรณานุกรม ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2536). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ : โครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ . ฤกษ์ชัย คุณูปการ และคณะ. (2546). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ.