แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
IC FAI ITA
IC 5 มิติ FAI 4 ด้าน ITA 1 ด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง : IC ที่ กลุ่มประกันสุขภาพ สป.สธ. กลุ่มงานประกัน งานการเงิน กลุ่มตรวจสอบภายใน สป.สธ งานตรวจสอบและ ควบคุมภายใน ปปช. ศปท.กระทรวง สธ. FAI 4 ด้าน IC 5 มิติ ITA 1 ด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง : IC 1. มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ตัวชี้วัดที่ 8 2 ด้านการพัฒนาคุณภาพบัญชี : AC 2. มิติด้านการเงิน สสจ./รพท. 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง : FM 3. มิติด้านงบการเงิน ตัวชี้วัดที่ 79 4 การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ : UC 4. มิติด้านพัสดุ รพช./สสอ. 5. มิติด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง
การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ IC AC FM UC Internal Control การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง Accounting Audit การพัฒนาคุณภาพบัญชี Financial Management การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงิน การคลัง Unit Cost การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
มิติด้านพัสดุ IC มิติด้านการเงิน มิติด้านระบบการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. มิติด้านการเงิน มิติด้านพัสดุ มิติด้านบัญชีและงบการเงิน มิติด้านการจัดเก็บรายได้ ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่าง ๆ IC เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการ
มิติด้านการจัดเก็บรายได้สิทธิต่าง ๆ REVIEW 2559 เปรียบเทียบกับ 2560 การควบคุมภายใน 9 กระบวนงาน เปลี่ยนเป็น 5 มิติ มิติด้านการจัดเก็บรายได้สิทธิต่าง ๆ กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่ายตรง กรมบัญชีกลาง กระบวนงานจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC กระบวนงานจัดทำแผนประมาณการรายได้และควบคุมค่าใช้จ่าย กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ กระบวนงานการจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์ กระบวนงานจัดแผนการจัดวัสดุการแพทย์ กระบวนงานจัดแผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ กระบวนงานจัดทำแผนการจัดซื้อวัสดุประจำปี (วัสดุสำนักงานเงินบำรุง) กระบวนงานการควบคุม เก็บรักษา (บริหารคลังยา เวชภัณฑ์ และวัสดุ) มิติ ด้านพัสดุ
มิติด้านการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง. มิติด้านการเงิน มิติด้านบัญชี และ งบการเงิน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มีหน่วยงานในสังกัด สถานการณ์ การดำเนินการตรวจสอบภายใน จะต้องดำเนินการหน่วยงานในสังกัดทุกหน่วยงาน 100 % สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มีหน่วยงานในสังกัด แบ่งเป็น รพ. 22 แห่ง สสอ. 22 แห่ง รพ.สต. 254 แห่ง รวม 298 หน่วยรับตรวจ
ผลการดำเนินงาน ปี 2560 สสอ. ศรีรัตนะ และรพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง สสอ. ศรีรัตนะ และรพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง ตูม / พิงพวย / เสื่องข้าว / ศรีสุข สสอ. ขุขันธ์ และ รพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง ใจดี / กันจาน / หนองลุง / นิคมซอยกลาง สสอ. ขุนหาญ และ รพ.สต.ลูกข่าย รวม 5 แห่ง ห้วยจันทร์ / ทับทิมสยาม07 / กันตรวจ / โพธิ์น้อย
การพัฒนาประสิทธิภาพด้านการเงินการคลัง FAI 60 4 ด้าน
แบบประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง IC AC FM UC Internal Control แบบสอบทาน 18 ด้าน แบบประเมินประสิทธิภาพการเงินการคลัง 5 มิติ Accounting Audit Financial Management Planfin Unit Cost
การวัดผลงาน 5 Step
เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การควบคุมภายใน(Internal Control : IC ) (๙ กระบวนงาน) แต่งตั้งคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบขององค์กรเสนอหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยบริการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ ๑. มิติด้านการจัดเก็บ รายได้ค่ารักษาพยาบาล สิทธิต่าง ๆ ๒. มิติด้านการเงิน ๓. มิติด้านพัสดุ ๔. มิติด้านบัญชีและ งบการเงิน ๕. มิติด้านการประเมิน ระบบการควบคุม ภายในตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 วิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน และ จัดทำแผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายในที่พบจุดอ่อน จัดส่งผลให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560) ดังนี้ 1. แบบประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ 2. ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 3. แผนพัฒนาองค์กร 5 มิติ การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) มีคณะทำงานพัฒนาระบบบัญชีในหน่วยบริการและมีการประชุมอย่างน้อยทุกไตรมาส เพื่อ กำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลต่อคุณภาพบัญชี คณะทำงาน มีการรายงานถึงความก้าวหน้าของการแก้ไขปัญหาเสนอต่อผู้บริหาร ( ทุกไตรมาส) มีการเสนอรายงานการเงิน การวิเคราะห์สถานะการเงินของ รพ. เสนอต่อผู้บริหาร (ผอ. รพ.) ทุกไตรมาส มีรายงานการเงิน ของลูกข่าย (รพ.สต.) ส่งส่วนกลางได้ครบทุกแห่ง ผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ เป็นที่ยอมรับ (คุณภาพบัญชีทางอิเล็คทรอนิกส์ หน่วยบริการ แม่ข่าย ผ่านเกณฑ์๑๐๐ %)
เกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหาร ฯ FAI องค์ประกอบ การประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ การเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการเงินการคลัง (Financial Management : FM) มี คกก.บริหารการเงินการคลังของหน่วยบริการและมีการประชุมเพื่อกำหนดประเด็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเงินการคลัง มี คกก. จัดทำแผนทางการเงิน(PLANFIN) ของหน่วยบริการ ที่มีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย/กลุ่มงาน มีการติดตามการบริหารแผนทางการเงิน(PLANFIN) ให้เป็นไปตามแผนทุกไตรมาส ใช้เครื่องมือทางการเงิน เพื่อเฝ้าระวังและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (ดัชนี ๗ ระดับ, ค่ากลางกลุ่มระดับ รพ.,LOIฯลฯ) มีผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จ -ไม่มีความเสี่ยงทางการเงินระดับ ๗ ตามเกณฑ์การประเมินวิกฤติของกระทรวง การบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ (Unit Cost:UC) มีแผนการพัฒนาการจัดทำต้นทุน Unit Cost ไว้ในแผนการดำเนินงานประจำปีของหน่วยบริการ มีคณะทำงานพัฒนาต้นทุนประจำหน่วยบริการ (จากแผนกหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง) มีการตรวจสอบคุณภาพความครบถ้วนของข้อมูลบริการทั้ง OP/IP ประจำเดือน มีการนำเสนอต้นทุนบริการ OP/IP ต่อ ผู้บริหาร (ผอ.รพ.) ประจำทุกไตรมาส มีต้นทุนบริการ OP/IP อยู่ในเกณฑ์เดียวกับกลุ่มระดับบริการด้วยวิธีการ Quick Method (ค่า Mean+๑SD)