ความสามัคคี คือ ..พลัง.....

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 TE-Department. โครงสร้างการบริหารภาควิชา ปี พ. ศ TE-Department - คณะกรรมการบริหารภาควิชา ประชุม 1 ครั้ง / เดือน - คณะกรรมการวิชาการภาควิชา ประชุม.
Advertisements

โรงพยาบาลจึงประหยัดพลังงานได้รางวัล
บทที่ 3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Customer Relationship Management (CRM)
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
KS Management Profile.
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริม
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๑ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
Automotive and Alternative Fuel Laboratory (AAFL)
การจัดการองค์ความรู้
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
Advanced Topics on Total Quality Management
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
หน่วยที่ 3 องค์การและการบริหารงานภายในองค์กร Organization & Management
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคกลาง นครปฐม
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
การพัฒนางานเภสัชกรรม
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
4.1.1 งานพัฒนาสถาบันเกษตรกร (ต่อ)
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว.
การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy
พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ความสามัคคี คือ ..พลัง.....
By Personal Information Management
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
ผู้จัดทำวิจัย อิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
แนะนำหนังสือใหม่ พฤศจิกายน 2560
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
วิชาโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า ภาคเรียนที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
11/17/2010.
ตารางแสดงจำนวนบุคลากรแยกตามศูนย์
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ระดับส่วนงาน ระดับบุคคล ชื่อ
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสามัคคี คือ ..พลัง....

รวบรวมพระราชดำรัสพระราชทานในโอกาสต่างๆ การทำงาน - ทำอะไร - ทำเพื่อใคร P1 - ทำอย่างไร P2 - ทำแล้วได้อะไร P3 คิด ๖หลักในการทำงาน หลักแห่งความสำเร็จ - คิด Macro ทำ Micro - ทำเป็นขั้นเป็นตอน - ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย - ทำอะไรให้นึกถึงภูมิสังคมของที่นั้นๆ - การสื่อความ การประสานงาน และการบูรณาการ (Communication,Coordination,Integration) - ทำอะไรต้องมีผู้รับผิดชอบ หรือ ระบบบริหารจัดการเพื่อรับผิดชอบงาน - มีความรู้ในเรื่องที่จะทำ = รู้ - มีฉันทะต่อเรื่องที่จะทำ = รัก - ทำอะไรก็ให้ทำเป็นทีม ร่วมมือร่วมใจกันทำให้มี ประสิทธิภาพ = สามัคคี 2

ทำไมเราต้องมีการบริหารจัดการพลังงาน ???? และปรับปรุงสภาพการทำงาน เพิ่มกำไร ลดต้นทุน การจัดการพลังงาน ลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพในการบริการ และปรับปรุงสภาพการทำงาน จาก “Good Practice Guide: Aspects of Energy Management” by Department of Environment Transportation Region, England.

“ ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ”

โครงการศรีสังวรรวมใจ ลดใช้พลังงาน 2553 ที่ปรึกษาพบผู้บริหาร / กกบ.รพ.รับทราบ - พิจารณา,ประเมิน ประกาศนโยบาย รพ. จัดโครงสร้างการจัดการพลังงาน รพ. 1 คณะ 4 ทีม + สส. แต่งตั้งคณะทำงานจัดการพลังงาน รพ. 13 ท่าน แต่งตั้งผู้แทนจัดการพลังงานประจำหน่วยงาน 69 คน-หน่วยงาน อบรมให้ความรู้ คทง. 6 ครั้ง จนท. 3 ครั้ง (~ 300 คน) แนะนำการจัดทำแผน house keeping แนะนำการประชาสัมพันธ์ - สื่อสาร

1. นโยบายการจัดการพลังงาน 3.การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ ตารางประเมินองค์ประกอบด้านการจัดการพลังงาน (Energy Management Matrix) ระดับคะแนน องค์ประกอบ 1. นโยบายการจัดการพลังงาน 2. การจัดองค์กร 3.การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร 5.ประชาสัมพันธ์ 6.การลงทุน 4 มีนโยบายการจัดการพลังงานจากฝ่ายบริหารและถือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายขององค์กร มีการจัดองค์กรและเป็นโครงสร้างส่วนหนึ่งของฝ่ายบริหาร กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไว้ชัดเจน มีการประสานงานระหว่างผู้รับผิดชอบด้านพลังงานและทีมงานทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ กำหนดเป้ามหายที่ครอบคลุม ติดตามผล หาข้อผิดพลาด ประเมินผล และควบคุมการใช้งบประมาณ ประชาสัมพันธ์คุณค่าของการประหยัดพลังงานและผลการดำเนินงานของการประหยัดพลังงาน จัดสรรงบประมาณโดยพิจารณาถึงความสำคัญของโครงการ 3 ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานรายงานตรงต่อคณะทำงานด้านการจัดการพลังงานซึ่งประกอบด้วยหัวหน้าฝ่ายต่าง ๆ คณะทำงานด้านจัดการพลังงานเป็นช่องทางหลักในการดำเนินงาน แจ้งผลการใช้พลังงานจากมิเตอร์ย่อยให้แต่ละฝ่ายทราบ แต่ไม่มีการแจ้งถึงผลการประหยัดที่เกิดขึ้น ให้พนักงานรับทราบโครงการอนุรักษ์พลังงานและให้มีการประชาสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ ใช้ระยะเวลาคุ้มทุนเป็นหลักในการพิจารณาการลงทุน 2 ไม่มีการกำหนดโยบายที่ชัดเจนโดยผู้บริหาร มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานรายงานตรงต่อคณะกรรมการเฉพาะกิจ แต่สายการบังคับบัญชาไม่ชัดเจน คณะกรรมการเฉพาะกิจเป็นผู้ดำเนินการ ทำรายงานติดตามประเมินผลโดยดูจากมิเตอร์ ให้คณะกรรมการเฉพาะกิจเข้ามาเกี่ยวข้องกับการตั้งงบประมาณ จัดฝึกอบรมให้พนักงานรับทราบเป็นครั้งคราว ลงทุนโดยดูมาตรการที่มีระยะเวลาคุ้มทุนเร็ว 1 ไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ทำไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานมีขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบจำกัด มีการติดต่ออย่างไม่เป็นทางการระหว่างผู้รับผิดชอบด้านพลังงานกับผู้ใช้พลังงาน(พนักงาน)ในหน่วยงาน มีการสรุปรายงานด้านค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานเพื่อใช้กันในฝ่ายวิศวกรรม แจ้งให้พนักงานทราบอย่างไม่เป้นทางการเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พิจารณาเฉพาะมาตรการที่ลงทุนต่ำ ไม่มีนโยบายที่ชัดเจน ไม่มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ไม่มีการติดต่อกับผู้ใช้พลังงาน ไม่มีระบบรวบรวมข้อมูลและบัญชีการใช้พลังงาน ไม่มีการสนับสนุนการประหยัดพลังงาน ไม่มีการลงทุนใด ๆ ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน มีนโยบายและมีการสนับสนุนเป็นครั้งคราวจากฝ่ายบริหาร 2.65 2.31 1.65 1.77 1.31 1.15

กิจกรรม 8 ขั้นตอน การอนุรักษ์พลังงาน ขั้นที่ 1 การกำหนดโครงสร้างการจัดการพลังงาน กิจกรรม 8 ขั้นตอน การอนุรักษ์พลังงาน ขั้นที่ 2 การประเมินสถานะเบื้องต้น ขั้นที่ 3 การกำหนดนโยบายและ การประชาสัมพันธ์ ขั้นที่ 8 การทบทวนผลการดำเนินการ ขั้นที่ 4 การประเมินศักยภาพด้านเทคนิค ขั้นที่ 5 การกำหนดมาตรการ เป้าหมายและคำนวณผลตอบแทนทางการเงิน ขั้นที่ 7 การดำเนินการตามแผนฯ ขั้นที่ 6 การจัดทำแผนปฏิบัติการ

กันยายน 2552 837 KW

ตุลาคม 2552 825 KW

พฤศจิกายน 2552 774 KW

ธันวาคม 2552 600 KW

มกราคม 2553 642 KW

กุมภาพันธ์ 2553 756 KW

23 เมษายน 2552 957 KW เฉลี่ย 559.96 KW 14.45 303 KW 03.30

9 ตุลาคม 2552 เฉลี่ย 454.75 KW 825 KW 13.45

17 พฤศจิกายน 2552 774 KW 14.15 เฉลี่ย 426.44 KW

8 กุมภาพันธ์ 2553

9 กุมภาพันธ์ 2553

10 กุมภาพันธ์ 2553

11 กุมภาพันธ์ 2553

12 กุมภาพันธ์ 2553

15 กุมภาพันธ์ 2553

16 กุมภาพันธ์ 2553 747 KW 14.15 เฉลี่ย 386.31 KW

17 กุมภาพันธ์ 2553 756 KW 14.00 เฉลี่ย 510 KW

แนวคิดการปรับปรุงแก้ไข เพื่ออนุรักษ์พลังงาน ยั้ง การใช้ในช่วงเวลาที่ไม่จำเป็น หยุด การใช้ในอุปกรณ์ส่วนที่ไม่จำเป็น ลด/ปรับ ความสว่าง อุณหภูมิ ที่เกินความจำเป็น แก้ไข ปรับปรุง ซ่อมแซม เครื่องจักรอุปกรณ์ ให้มีประสิทธิภาพสูง ปรับปรุงกรรมวิธี การผลิตในเชิงประหยัดพลังงาน

แนวคิดการปรับปรุงแก้ไข เพื่ออนุรักษ์พลังงาน กัน การรั่วไหลของพลังงาน การสูญเปล่า เก็บ คืนพลังงานที่จะทิ้งแล้วมาใช้อีก เปลี่ยน วิธีการใช้หรือชนิดหรือแหล่งของพลังงาน ให้เหมาะสมทั้งในทางเทคนิคและเศรษฐกิจ

อย่า เป็นกังวลกับหลักการ ทฤษฎีให้มากเกินไป ข้อเตือนใจ 6 ประการ อย่า พยายามนึกถึง หรือขุดคุ้ยข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นมาในอดีต เน้นถึงปัจจุบันและอนาคตดีกว่า อย่า คิดว่าจะสามารถทำงานนั้นๆ ได้สมบูรณ์ในทันทีแต่จะต้องทำงานอย่างต่อเนื่องตลอดไปโดยอาศัยการวินิจฉัยเบื้องต้นด้วยประสาทสัมผัสในตัวเรา อย่า เป็นกังวลกับหลักการ ทฤษฎีให้มากเกินไป อย่าเสียเวลากับการถกเถียงปัญหาวิเคราะห์ วิจารณ์ในห้องประชุมมากเกินไป

จง เริ่มจากงานที่ลงทุนแต่น้อย ๆ ข้อเตือนใจ 6 ประการ จง เริ่มจากงานที่ลงทุนแต่น้อย ๆ จง สร้างสำนึกแก่พนักงานทุกคน ให้มีส่วนร่วม และเข้าใจถึงความจำเป็น ความสำคัญและประโยชน์ ของการประหยัดพลังงาน จง เริ่มในทันที โดยไม่ผลัดวันประกันพรุ่ง