เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor Meter)
อิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์สำหรับการวัด Power Factor ใช้อิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร์แบบขดลวดขวาง (Crossed – coil Electrodynamometer) มีขดลวดเคลื่อนที่ (Moving Coil) 2 ขด ในวงจร ต่อไขว้กัน ที่ปลายขดลวดเคลื่อนที่ (Moving Coil) 2 ขด ตัวหนึ่งต่อ L , อีกตัวต่อ R
Crossed – coil Power Factor Meter
ขั้นตอนการทำงานของ Crossed – coil Electrodynamometer การสร้างสนามแม่เหล็กของขดลวดเคลื่อนที่
กระแสไหลในขดลวด 1
กระแสไหลในขดลวด 2
การกลับทิศทางการไหลของกระแสแต่ละครึ่งคาบ
ขั้นตอนการทำงานของ Crossed – coil Power Factor Meter IF IMR IML
แรงที่ทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดเบี่ยงเบน กับ ค่ากระแสที่ไหลในวงจร Crossed Coil PF Meter ความยาวตัวนำคงที่ แรงที่ทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ ขนาดแรงบิดบ่ายเบน (r – รัศมีจากแนวแรง ถึงจุดหมุนคงที่)
เมื่อ B คือ ความหนาแน่นของสนามแม่เหล็ก ซึ่งเกิดจาก IF จะได้ (ขด R) (ขด L) เมื่อ - มุมระหว่างกระแส IF กับ IMR - มุมระหว่างกระแส IF กับ IML
กรณีโหลดที่ต่อเป็นตัวต้านทาน (R)
ครึ่งคาบ บวก
ครึ่งคาบ ลบ
2. กรณีโหลดที่ต่อเป็นตัวเหนี่ยวนำ (L)
ครึ่งคาบ บวก
ครึ่งคาบ ลบ
3. กรณีโหลดที่ต่อเป็นตัวเก็บประจุ (C)
ครึ่งคาบ บวก
ครึ่งคาบ ลบ
4. กรณีโหลดที่ต่อเป็นตัว R กับ L
คือ มุมประกอบกำลังไฟฟ้าของระบบ ( ) การเบี่ยงเบนของเข็มชี้ หาได้จาก
ครึ่งคาบ บวก ครึ่งคาบ ลบ
5. กรณีโหลดที่ต่อเป็นตัว R กับ C
คือ มุมประกอบกำลังไฟฟ้าของระบบ ( ) การเบี่ยงเบนของเข็มชี้ หาได้จาก
ครึ่งคาบ บวก ครึ่งคาบ ลบ