E-R Diagram (Entity Relationship Diagram)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Advertisements

E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
File System Example of File System Employee Department
Entity-Relationship Model
ส่วนที่ 4 System Design การออกแบบระบบ.
– Web Programming and Web Database
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
อ.อารียา ศรีประเสริฐ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ
กรณีศึกษา : โรงแรมช่ออินทนิล มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
การแปลง E-R เป็น Table.
ระบบสารสนเทศเพื่อการขายสินค้า ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
Entity Relationship Model
Data Modeling Chapter 6.
โมเดลจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล (ER-Diagram)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
Entity-Relationship Model
Week 5 Online available at
E-R to Relational Mapping Algorithm
Data Modeling Using the Entity-Relationship Model
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูล ด้วย E-R Model
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
Database Management System
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
Entity-Relationship Model
ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL
Everything that has a beginning has an end…
การจัดทำมาตรฐานข้อมูล
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Normalization Lecture 9.
Object Oriented Development with UML
SQL (Structured Query Language)
บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
บทที่ 4 โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ Relational (Relational Database Model)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
การเปลี่ยนจาก E-R Diagram เป็นโมเดลเชิงสัมพันธ์ (ตารางข้อมูล)
Chapter 6 : แบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Model)
บทที่ 5 การควบคุมความถูกต้องให้กับข้อมูล (Data Integrity)
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
Chapter 9 : ภาษาทางด้านฐานข้อมูลคำสั่ง SQL (SQL Command)
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
SQL – Web Programming and Web Database
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
7 Entity-Relationship Modeling แผนภาพความสัมพันธ์ ORACLE MS SQL SERVER
Chapter 6 Information System Development
Database design E-R Diagram
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
Entity – Relationship Model
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
Data Mining Association Analysis ## Weka
การออกแบบโครงสร้างฐานข้อมูลด้วย E-R Model และการแปลงเป็นรีเลชัน
กฎการ Normalization 1. จะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน 1 ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้ด้วยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคคอร์ดใหม่
การออกแบบฐานข้อมูล.
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
OLAP Analysis and Design vs TPS (เสริม)
สรุปขั้นตอนการสร้าง E-R Diagram
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
[ บทที่ 5 ] การออกแบบฐานข้อมูล
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
การพัฒนาบุคลิกภาพในงานบริการ Week 2
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
Class Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

E-R Diagram (Entity Relationship Diagram)

E-R Diagram เป็นแผนภาพที่ทำหน้าที่จำลองข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นการออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual เป็นแบบจำลองข้อมูลที่แสดงถึงโครงสร้างฐานข้อมูลที่เป็นอิสระจาก Software ที่จะใช้พัฒนาฐานข้อมูล (ไม่ขึ้นกับ Software) ทำให้บุคลากรเข้าใจในระบบฐานข้อมูลได้ง่าย

สัญลักษณ์ที่ใช้ใน E-R Diagram ใช้แบบ Chen Model Entity เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลแต่ละรายการภายในระบบที่เรากำลังจัดทำอยู่ เช่น บุคคล (พนักงาน, ผู้ป่วย, บุคลากร, นักศึกษา,ลูกค้า) สถานที่ (จังหวัด, อำเภอ, ภาค, ที่อยู่) วัตถุ (รถยนต์, อาคาร, เครื่องจักร,สินค้า) เหตุการณ์ (ประวัติ, การลงทะเบียน, การรักษาโรค,ซื้อ,ขาย) สัญลักษณ์จะแทนด้วยรูปสี่เหลี่ยมและมีชื่อ Entity อยู่ภายใน พนักงาน สัญลักษณ์ Entity

ประเภทของ ของ Entity มี 2 ประเภท 1 Regular Entity อาจจะเรียกอีกชื่อว่า Strong Entity เป็น Entity ที่อยู่ได้โดยไม่ต้องอาศัย Entity อื่นในการคงอยู่ ซึ่งมีคุณสมบัติ Identity ได้ด้วยตัวเอง ไม่ต้องพึ่ง Entity อื่น 2 Week Entity เป็น Entity ที่อยู่ได้โดยต้องอาศัย Entity อื่นในการคงอยู่ Customer Order Detail

ภาพอธิบาย Strong & Weak Entity Student (Strong) Subject (Strong) รหัส ชื่อ คณะ 45001 เดชา บริหารธุรกิจ 45002 สมชาย เกษตร รหัสวิชา ชื่อวิชา 01 ฐานข้อมูล 02 โครงสร้าง Regis_Detail(Weak) รหัส ปีการศึกษา รหัสวิชา 45001 1/45 01 45002 02

Attributes เป็นคุณสมบัติหรือลักษณะของ Entity เลขที่พนักงาน ชื่อ-นามสกุล เพศ เงินเดือน สัญลักษณ์ Attributes นั้นจะแทนด้วยวงรี โดยมีชื่อของ Attributes กำกับอยู่ภายใน และมีเส้นเชื่อมต่อกับ Entity ของมัน เช่น

ตัวอย่าง Attributes Sex Name Emp_ID Employee Salary

Attributes สามารถจำแนกได้เป็น 6 ประเภท 1 Simple Attributes Attributesที่ไม่สามารถแบ่งแยกย่อยได้อีกแล้ว เช่น เพศ,เงินเดือน 2 Composite Attributes มีลักษณะตรงข้ามกับแบบ Simple ที่สามารถแบ่งแยกย่อยไปได้อีก เช่น ชื่อสกุล ที่สามารถแบ่งออกได้เป็น Attributes ชื่อ และ สกุล 3 Key Attributes เป็น Attributes ที่สามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของ Entity นั้นได้ (มีค่าไม่ซ้ำกัน) เวลาเขียน ER Diagram ต้องขีดเส้นใต้ Attributes ที่เป็น Key ด้วย

4 Single - Valued Attributes Property ที่มีค่าของข้อมูลได้เพียงแค่ค่าเดียว เช่น Attributes เพศ ที่ระบุได้เพียง ชาย หรือ หญิง เท่านั้น เพราะมนุษย์มีเพียงเพศเดียว สัญลักษณ์เป็นวงรี เส้นเชื่อมเป็นเส้นเดี่ยว 5 Multi - Valued Attributes มีลักษณะตรงข้ามกับแบบ Single ที่สามารถมีค่าของข้อมูลได้หลายค่า เช่น เบอร์โทรที่ประกอบด้วยรหัสพื้นที่และตามด้วยหมายเลขโทรศัพท์ สัญลักษณ์เป็นวงรีสองเส้น 6 Derived Attributes เป็น Property ที่ได้มาจากการคำนวณ โดยอาศัยค่าใน Property อื่น ๆ เช่น ค่าของอายุ ที่ได้มาจาก Property วันเกิด สัญลักษณ์เป็นวงรีเส้นประ

Name Surname Sex Name_Surname Birthday ID Student Age Tel ตัวอย่างภาพ Attributes ชนิดต่าง ๆ Composite Name Surname Sex Name_Surname Birthday Derived ID Student Age key Tel Multi - Valued

3. Relationship หมายถึง Entity ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง 2 Entity ขึ้นไป เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง Entity ที่มี Attributes ร่วมกัน โดยแต่ละความสัมพันธ์จะถูกระบุด้วยสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด (Diamond) และคำที่อธิบายถึงความสัมพันธ์นั้น ๆ พร้อมทั้งระบุชนิดของความสัมพันธ์ระหว่าง Entity นั้น ๆ ด้วย

ตัวอย่าง Relationship Employee Work_in Department Order Of Order_detail

ประเภทของ Relationship 1. One-to-One Relationship เป็นความสัมพันธ์ของสมาชิกของใน Entity หนึ่งไปสัมพันธ์กับ กับสมาชิกของใน Entity อีกอันหนึ่ง เพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น Employee Owner 1 1 Car

ประเภทของ Relationship 2. One-to-Many Relationship เป็นความสัมพันธ์ของสมาชิกของใน Entity หนึ่งไปสัมพันธ์กับ กับสมาชิกของใน Entity อีกอันหนึ่ง มากกว่า 1 สมาชิก Employee Have 1 M Car

ประเภทของ Relationship 2. Meny-to-Many Relationship เป็นความสัมพันธ์ของสมาชิกมากกว่า 1 สมาชิก ของใน Entity หนึ่งไปสัมพันธ์กับ กับสมาชิกของใน Entity อีกอันหนึ่ง มากกว่า 1 สมาชิก Customer Belong_to M N Account

Composite Entity เป็น Entity ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อแปลงความสัมพันธ์แบบ M:M ให้เป็น แบบ 1:M (เพราะแบบ M:M นั้นค่อนข้างยากแก่การเข้าใจ) ซึ่ง Composite Entity จะกลายเป็น Entity ใหม่ที่รวมเอาไว้ด้วย Key Property ของทั้ง 2 Entity หลัก และส่วนสนใจอื่น ๆ ซึ่ง Key Property ของ Composite Entity ก็คือ Key Property ของทั้ง 2 Entity หลักนั่นเอง (เป็น PK ที่มีลักษณะเป็น Super Key : คีย์ร่วม) สัญลักษณ์ของ Composite Entity คือ สี่เหลี่ยมผืนผ้าซ้อนด้วยสี่เหลี่ยมรูปข้าวหลามตัด

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงจาก M:M มาเป็น 1:M

การออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Model 1. ศึกษารายละเอียดและลักษณะหน้าที่งานของระบบ เพื่อรวบรวมรายละเอียด ลักษณะการทำงานของระบบ ขั้นตอนการทำงาน เอกสารรายงานต่างๆ

2. กำหนด Entity ที่ควรมีในระบบฐานข้อมูล โดยการกำหนด Entity จะต้องคำนึงถึง Entity ทั้งแบบอ่อนแอและแบบแข็งแรงด้วย

3. การกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity One to One Relationship One to Many Relationship Many to Many Relationship

4. การกำหนดคุณลักษณะของ Entity เป็นการกำหนดคุณสมบัติ (Attributes) ให้กับ Entity ว่าควรจะประกอบไปด้วย Attributes ใดบาง พร้อมทั้งพิจารณาด้วยว่า Attributes ใดบ้างที่จะเป็น Composite Attributes Derived Attributes

5. การกำหนด Primary Key ของแต่ละ Entity เป็นการกำหนดให้ Entity แต่ละ Entity มีเอกลักษณ์เฉพาะที่สามารถอ้างอิงได้อย่างไม่ซ้ำซ้อน นั่นก็คือการกำหนด Primary Key นั่นเอง

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Model Ex สถาบันการศึกษาแห่งหนึ่งมีการสอนอยู่ 3 คณะ คือ เกษตร, วิทยาศาสตร์, ศึกษาศาสตร์ ซึ่งในแต่ละคณะจะประกอบไปด้วยภาควิชาต่าง ๆ แต่ละภาควิชาก็จะประกอบไปด้วยอาจารย์หลาย ๆ คน อาจารย์แต่ละคนสอนได้หลายวิชา แต่สามารถสังกัดได้เพียงแค่ภาควิชาเดียว และอาจารย์แต่ละคนแต่ละภาคก็จะมีหัวหน้าภาค

กำหนด Entity ที่ควรมีในระบบฐานข้อมูล Entity Faculty แสดงรายละเอียดของคณะ Entity Department แสดงรายละเอียดของแผนก Entity Teacher แสดงรายละเอียดของอาจารย์ Entity Subject แสดงรายละเอียดของวิชา

กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity 1 M 1 M 1 M

1 M 1 M M 1

กำหนดคุณลักษณะของ Entity Faculty Department

Teacher Subject

การกำหนด Primary Key ของ Entity Entity Faculty คือ Faculty_ID Entity Department คือ Dep_ID Entity Teacher คือ Teacher_ID Entity Subject คือ Subject_ID

ตัวอย่างการออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Model Ex ให้เขียน ER-Diagram ของระบบการขายสินค้า ร้านABC คอมพิวเตอร์ โดยที่ ลูกค้าหลายคนสามารถที่จะซื้อสินค้าได้หลายชิ้น ใบเสร็จรับเงินหลายใบมีสินค้าได้หลายชิ้น ในใบเสร็จแต่ละใบจะมีพนักขายเพียงคนเดียวเท่านั้น สินค้าจะประเภทของตัวเอง

กำหนด Entity ที่ควรมีในระบบฐานข้อมูล Entity Customer แสดงรายละเอียดของลูกค้า Entity Employee แสดงรายละเอียดของพนักงานขาย Entity Product แสดงรายละเอียดของสินค้า Entity TypeProduct แสดงประเภทของสินค้า Entity Bill แสดงรายละเอียดของใบเสร็จ

กำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง Entity Customer ได้รับ 1 M Bill มี Employee 1 M Bill มี TypeProduct 1 M Product

มี Bill M M Product Bill_detail M 1 1 M Bill Product

กำหนดคุณลักษณะของ Entity Emp_ID Product_ID Employee Emp_name Product Product_name salary price TypeProduct TypeName TypeID

Cus_ID Bill_No Customer Cus_name Bill Bill_date Address Emp_ID

ER-Diagram ของระบบการขายสินค้า Product_ID Product_name Product_ID Price_s Detail_ID Bill_No price Bill_detail Bill_detail 1 M M 1 Bill Product Bill_date M M Emp_ID M Amount มี Bill_No ได้รับ TypeName 1 มี TypeID TypeProduct Customer Cus_ID Cus_name Address 1 1 Employee Emp_name salary Emp_ID