กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
Advertisements

มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การตั้งค่าวัคซีน.
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ทิศทาง..... งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2558
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
3,145 เสียชีวิต 21,269 ทุพพล ภาพ 3,145 เสียชีวิต 21,269 ทุพพล ภาพ END POLIO FOREVER NOW.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
Report การแข่งขัน.
สถานการณ์ และข้อมูลเกี่ยวกับ Ebola และ MERS COV
Cr อ.เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
Direction of EPI vaccine in AEC era
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
TBCM Online.
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
AFP surveillance การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การพัฒนาระบบงานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการ รพ.สต.บ้านโป่ง
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
Scinario 2.
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 3 : Scenario 3

ผู้ป่วย: 1 ราย เพศชาย อายุ 10 ปี สัญชาติไนจีเรีย ประวัติการรับวัคซีน ได้ tOPV 2 ครั้ง ก่อนอายุครบ 1 ปี ลำดับเหตุการณ์: 1 ส.ค. 59 เดินทางจากไนจีเรีย เข้าปท.ไทย - กทม. - พักที่โรงแรม ซอยนานาเหนือ แขวงคลองเตยเหนือ เขตทวีวัฒนา 3-4 ส.ค. 59 เดินทางไป จ.จันทบุรี พักที่โรงแรม ริมน้ำกลางจันทร์ เทศบาลเมือง จันทบุรี 29 ส.ค. 59 ผล lab พบ Poliovirus Wild type I 5 ส.ค. 59 กลับมา กทม. โรงแรม ซอยนานาเหนือ 12 ส.ค. 59 เริ่มป่วย - อาการ: ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดหัว แขนขาอ่อนแรง - Admit ที่ รพ.บำรุงราษฎร์ - Lab ตรวจเลือด & ปัสสาวะ (ผลปกติ) - Dx: AFP - เก็บ stool 2 ครั้งห่างกัน 24-48 ชั่วโมง - ทีมระบาดวิทยา สำนักอนามัย กทม. ออกสอบสวนโรค 15 ส.ค. 59 ส่ง stool ตรวจที่กรมวิทย์

การตอบโต้สถานการณ์กรณีเกิดการระบาดของโรคโปลิโอ ช่วงที่ 1 Nigeria Immunization schedule At Birth - BCG, HB, OPV 6 weeks – DTP, HB, OPV 10 weeks – DTP, OPV 14 weeks – DTP, HB, OPV 9 months – M, YF การดำเนินงานด้านระบาดวิทยา ทบทวนความรู้ โรคPolio/AFP กำหนดการให้วัคซีนของประเทศไนจีเรีย สถานการณ์การเกิดโรคโปลิโอในประเทศไนจีเรีย พบว่าระบาดด้วย wild type I และประชาชนบางส่วนมีความเชื่อว่าโรคโปลิโอเกิดจากภูตผี 2. วิเคราะห์ข้อมูล: 2.1 ระยะฟักตัวของโรคโปลิโอ (7-14 วัน) ได้รับเชื้อในประเทศไทย หรือ ได้รับเชื้อจากไนจีเรีย ผลการวิเคราะห์ – ไทยไม่พบผู้ป่วยโปลิโอมาแล้วกว่า 19 ปี ขณะที่ไนจีเรีย เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโปลิโออยู่ (endemic area) – น่าจะเป็น imported case 2.2 vaccine coverage ในพื้นที่ที่ผู้ป่วยไป ได้แก่ แขวงคลองเตยเหนือ เขตทวีวัฒนา กทม. อ.เมือง จ.จันทบุรี

การดำเนินงานด้านระบาดวิทยา (ต่อ) 3. ประสานทีมและสอบสวนโรค ทีมระบาด สน.อนามัย กทม.  สอบสวนหาผู้สัมผัสใกล้ชิดในชุมชน, หาผู้ป่วยรายใหม่, หา transmission ที่โรงแรม, ให้ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันแก่ประชาชนในพื้นที่ การประสานงาน: ทีมระบาด สน.อนามัย กทม. & สปคม.  สน.ระบาดวิทยา  สคร.6  สสจ.จันทบุรี  พื้นที่ ทีมสอบสวนโรค SRRT จันทบุรี  ทบทวนข้อมูล (AFP report – ไม่พบ case, zero report, active search – ทำเมื่อ พ.ค. 59 ไม่พบ case), สอบสวนหาผู้สัมผัสในชุมชน, หาผู้ป่วยรายใหม่ Strengthening ระบบเฝ้าระวังในโรงพยาบาล ดำเนินการทั้ง กทม. และจันทบุรี zero report ทำทั้ง passive และ active active search (ค้นหาย้อนหลังทั้งปี)

การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค ทบทวนรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอในเด็กอายุ <1 ปี และ <5 ปี ทั้งในภาพจังหวัดและรายพื้นที่ (ตำบล) กทม. – รู้ในภาพรวม แต่ระดับพื้นที่ไม่รู้ ต้องทำการสำรวจซึ่งทำได้ลำบาก จันทบุรี – จากข้อมูลการสำรวจพบว่า cov. > 90% (แต่ใน HDC < 90%) (ถ้า Cov. OPV3 ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี < 90% ให้ทำ ORI แต่ถ้า >90% ให้ทำ catch up) การทำ ORI ในพื้นที่ กทม.และจันทบุรี กทม. ทำ ORI รอบที่ 1 ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในชุมชนซอยนานาเหนือ เพื่อลดความเสี่ยง ระหว่างที่รอผล lab จันทบุรี ทำ catch up ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ชุมชนเทศบาลเมือง

ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กทม: ดำเนินงานเฝ้าระวัง อย่างเข้มข้นนาน 6 เดือน กท.สธ. มีหนังสือสั่งการถึงจังหวัดให้ทำ active case finding ในรพ. ทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน และตั้งจุด screening ในรพ. เพื่อค้นหาผู้ป่วย AFP ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อของกทม. เพื่อพิจารณาเปิด/ไม่เปิด EOC ทำหนังสือรายงานประธานคณะกรรมการโรคติดต่อของกทม. อาจจะขยายพื้นที่เฝ้าระวังโรคในเขตอื่น ๆ รวมทั้งเฝ้าระวังในกลุ่มแรงงานต่างด้าว แคมป์ ก่อสร้างในทุกเขต ตรวจสอบคุณภาพของการรายงาน zero report ติดตามอาการอ่อนแรงของผู้ป่วยภายหลัง 30 วัน และ 60 วัน จันทบุรี: ดำเนินงานเฝ้าระวัง อย่างเข้มข้นนาน 6 เดือน กท.สธ. มีหนังสือสั่งการถึงจังหวัดให้ทำ active case finding ในรพ. ทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน ตั้งจุด screening ในรพ. เพื่อค้นหาผู้ป่วย AFP ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาเปิด/ไม่เปิด EOC ทำหนังสือรายงานประธานคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด

ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม ทั้งกทม. และจันทบุรี ให้เก็บตัวอย่างน้ำเสียที่ใกล้กับโรงแรม 2 จุด (บ่อพักน้ำทิ้งของโรงแรม และบ่อบำบัดน้ำเสียที่อยู่ใกล้โรงแรม) โดยเก็บตัวอย่าง ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ตัวอย่าง เป็นเวลานาน 3 เดือน ให้เก็บตัวอย่างน้ำเสียจากบ่อบำบัดของโรงพยาบาล (เฉพาะ รพ.ที่ admit)

ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I การป้องกันควบคุมโรค กทม: ให้ bOPV รอบที่ 2 ในเด็กต่ำกว่า 5 ปีทุกคนที่อาศัยอยู่ในชุมชนซอยนานา (ให้ bOPV ห่างจากรอบแรก 1 เดือน) มีการขยายพื้นที่การให้ bOPV ในเด็กต่ำกว่า 5 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนต่างด้าว แคมป์ก่อสร้าง โดยให้ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน จันทบุรี: ให้ bOPV รอบที่ 2 ในเด็กต่ำกว่า 5 ปีทุกคน (mop up) ที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่พบผู้ป่วย (ชุมชนรอบโรงแรม) ภายใน 3-5 วัน หลังทราบผลการตรวจทางห้อง lab สั่งการให้วัคซีนให้ครอบคลุมทุกชุมชนในเขตเทศบาลอำเภอเมือง

ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I การประชาสัมพันธ์และสื่อสารความเสี่ยง ทั้งกทม. และจันทบุรี ประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่และประชาชนทราบสถานการณ์การระบาดของโรค เพื่อสร้างความตระหนัก และลดความตระหนก เตรียมประเด็นตอบคำถามสื่อและประชาชนว่า สถานการณ์เป็นอย่างไร เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบได้ดำเนินการอะไรแล้วบ้าง และการปฏิบัติตัวของประชาชน

ขอบคุณค่ะ