การโคลนและศึกษาคุณสมบัติของยีน OsDFR ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดินในข้าวไทย นางสาวกนกภรณ์ คำโมนะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Eng31102Unit 10 Vocabulary Part I Eng31102Unit 10 meteorite (n.) /ˈmiːtiəraɪt/ –a piece of rock or other matter from space that has landed on Earth.
Advertisements

รายงานผลการฝึกอบรมที่ U of Illinois at Chicago, Chicago, Illinois, USA ระหว่างวันที่ 2 ก. ค ม. ค.52.
CONTROL VALVE LEAKAGE TEST INSPECTION
การพัฒนาโครงการวิจัย vs การจำแนกประเภทงานวิจัย
การเตรียมความพร้อมสำหรับงานวิจัยที่ใช้เทคนิค recombinant DNA
Molecular Biotechnology Application of molecular biotechnology in biocatalysis อ. ดร. วีระ ปิยธีรวงศ์
Quick Review about Probability and
Gene Manipulation Gene Manipulation GManipulation.ppt.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
Genetic Engineering.
Cell Division นำเสนอโดย….
Transcription.
GMO SAFETY ASSESSMENT Sumol Pavittranon , Ph. D.
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
Gene expression and signal transduction (4 hr)
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
เชื้ออะโกรแบคทีเรียม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
AREE THATTIYAPHONG Ph.D. NIH, DMSc. 31 July 2014 Cholchon Hotel, Chonburi Technology for laboratory diagnosis.
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบรามการทุจริต
Department of Biochemistry, Faculty of Science, Mahidol University
การแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
การสร้าง in vivo Transcript จากโคลน cDNA เต็มสายของ เชื้อไวรัสใบด่างจุดวงแหวนมะละกอ (PRSV-P) สายพันธุ์ไทย (Construction of in vivo Full Length Transcripts.
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ในเชิงการเกษตร
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีต่อคุณภาพชีวิต
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
การตรวจสอบพันธุ์ปนในข้าว ด้วยการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว.
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
การโคลนยีน หรือ การโคลน DNA (Gene cloning and DNA cloning)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีทาง DNA
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
18. 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับ DNA(ต่อ) 18. 4
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
ประชากร.
Introduction to Quantitative Genetics
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
Models for Viral Effector Recognition and Activation of Tomato NLR Sw-5b to Mediate Broad-Spectrum Resistance to American Tospoviruses. Models for Viral.
การประเมินราคา (Cost estimation).
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การโคลนและศึกษาคุณสมบัติของยีน OsDFR ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดินในข้าวไทย นางสาวกนกภรณ์ คำโมนะ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อค้นหายีนและโคลนยีน OsDFR ที่เกี่ยวข้องกับวิถีกาสังเคราะห์แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดินในข้าวไทย 2. เพื่อศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของยีน OsDFR ที่มีต่อการสังเคราะห์สีของเยื่อหุ้มเมล็ดในข้าว

ยีน OsDFR ชื่อ ; DFR หรือ Rd สร้างเอนไซม์ ; dihydroflavonol 4-reductase (DFR) ที่ตั้ง ; โครโมโซมที่ 1 โครงสร้างของยีน ; 3 เอกซอน และ 2 อินทรอน หน้าที่ ; เป็นยีนโครงสร้างในวิถีการสังเคราะห์แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิน

ประโยชน์ของสารแอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดิน แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดิน มีบทบาทช่วยต้านอนุมูลอิสระ มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าวิตามินซีและอีถึง 2 เท่า ลดอาการอักเสบ ช่วยปกป้องหลอดเลือด กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจหลอดเลือดได้ สามารถลดคอเลสเตอรอลในเลือด และป้องกันมะเร็งหลายชนิด

วิธีการทดลอง Plant materials Part II : Ligation into plasmid and transformation to E.coli cells to increase the number of copies of OsDFR gene Part I : To find the OsDFR gene by PCR and RT-PCR Part III: Ligation into plasmid p2CA and transformation to E. coli cells to construct gene cassette Part VI: Transformation of OsDFR gene into rice genome Part V : Transformation to Agrobacterium cells Part IV: Ligation into plasmid pCAMBIA 1305.1 Part IIV: The expression of OsDFR gene in transgenic rice

วิธีการถ่ายยีนเข้าสู่ข้าว Agrobacterium cells ชุดยีนที่สมบูรณ์ที่อยู่ในเวกเตอร์ pCAMBIA1305.1 (pCAMBIAKNLDFR-1) แคลลัสที่ได้จากเมล็ดแก่ของข้าว

ผลการทดลอง ประสิทธิภาพการถ่ายยีน OsDFR เข้าสู่แคลลัสข้าวพันธุ์ Kasalath โดยตรวจสอบการแสดงออกของยีน gusA แบบชั่วคราว การตรวจสอบแคลลัสข้าวพันธุ์ Kasalath ด้วยวิธี GUS assay ภายหลังเพาะเลี้ยงร่วมกับอะโกรแบคทีเรียมเป็นเวลา 3 วัน (bar = 0.5 cm) (A) แคลลัสชุดควบคุมที่ไม่ผ่านการถ่ายยีน (B) แคลลัสที่ผ่านการถ่ายยีน

เปอร์เซ็นต์การรอดของแคลลัสหลังการถ่ายยีนด้วยอะโกรแบคทีเรียมที่มีพลาสมิด pCAMBIAKNLDFR-1 เมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารคัดเลือกที่มีไฮโกรมัยซินความเข้มข้น 30 มิลลิกรัมต่อลิตรและไทเมนทินความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บ หมายถึง แสดงผลเป็นเปอร์เซ็นต์ (a) = (จำนวนแคลลัสที่รอด/จำนวนแคลลัสเริ่มต้น) x 100 (b) = (จำนวนแคลลัสที่เกิดจุดเขียว/จำนวนแคลลัสที่รอดบนอาหารคัดเลือกครั้งที่ 2) x 100 (c) = (จำนวนต้น/จำนวนแคลลัสที่รอดบนอาหารคัดเลือครั้งที่ 2) x 100

ลักษณะการเกิดจุดเขียวบนแคลลัสข้าวพันธุ์ Kasalath ที่รอด เมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตรชักนำให้เกิดต้น (MS) ที่มี NAA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร kinetin ความเข้มข้น 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีไฮโกรมัยซินความเข้มข้น 30 มิลลิกรัมต่อลิตร และไทเมนทินความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 4 สัปดาห์ (bar = 0.5 cm)

ลักษณะการเกิดจุดเขียวบนแคลลัสข้าวพันธุ์ Kasalath ที่รอด เมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตรชักนำให้เกิดต้น (MS) ที่มี NAA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร kinetin ความเข้มข้น 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตรมีไฮโกรมัยซินความเข้มข้น 30 มิลลิกรัมต่อลิตร และไทเมนทินความเข้มข้น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 5 สัปดาห์ (bar = 0.5 cm)

ลักษณะต้นสมบูรณ์ของข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ได้จากการถ่ายยีน OsDFR เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ดัดแปลงที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต เป็นเวลา 1 สัปดาห์

การตรวจสอบใบข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ได้จากการถ่ายยีน ด้วยวิธี GUS assay (B) ต้นที่ได้รับการถ่ายยีน จำนวนต้นทั้งหมด ต้นที่เกิดสีฟ้า ต้นที่ไม่เกิดสีฟ้า เปอร์การเกิดสีฟ้า 9 100 %

การวิเคราะห์ต้นข้าวดัดแปลงพันธุกรรมด้วยเทคนิค PCR การตรวจสอบการแทรกตัวของยีน OsDFR ในข้าวพันธุ์ Kasalath ด้วยเทคนิค PCR โดยใช้ไพรเมอร์ที่จำเพาะต่อยีน OsDFR หมายเหตุ ช่อง M คือ ดีเอ็นเอมาตรฐาน 1 Kb DNA Ladder ช่อง P คือ พลาสมิด pCAMBIAKNLDFR-1 ช่อง WT คือ ดีเอ็นเอ จากข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ไม่ได้รับการถ่ายยีน ช่องที่ 1 - 9 คือ ดีเอ็นเอจากข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ได้รับการถ่ายยีนต้นที่ 1 - 9 ตามลำดับ ช่องที่ 10 คือ น้ำกลั่น

ผลการวิเคราะห์ต้นข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ได้จากการถ่ายยีนด้วยเทคนิค PCR

การตรวจสอบฟีโนไทป์ของต้นข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ผ่านการถ่ายยีนในรุ่น T0 หมายเหตุ A และ B คือ ข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ผ่านการถ่ายยีน C และ D คือ ข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ไม่ผ่านการถ่ายยีน

การตรวจสอบฟีโนไทป์ของเมล็ดข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ผ่านการถ่ายยีนในรุ่น T0 หมายเหตุ wt คือ wild-type 1 – 9 คือ ข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ผ่านการถ่ายยีนต้นที่ 1 – 9

ผลการทดสอบการกระจายตัวของยีน gusA ในต้นข้าวพันธุ์ Kasalath ดัดแปลงพันธุกรรมรุ่น T1 ที่มียีน OsDFR ผลจากการวิเคราะห์ค่า ที่ได้ ให้ผลต่ำกว่าค่า จากตาราง ที่ df เท่ากับ 1 ซึ่งมีค่า 3.841 แสดงว่ารุ่น T1 มีการกระจายตัวของยีนเป็นไปตามกฎของเมนเดล คืออัตราส่วน 3 : 1 แสดงว่าผลการทดสอบต้น T0 ทุกต้นมียีนแทรกอยู่หนึ่งตำแหน่ง (single insertion site)

การศึกษาการแสดงออกของยีน OsDFR ในต้นข้าวพันธุ์ Kasalath ดัดแปลงพันธุกรรมรุ่น T1 ด้วยเทคนิค RT-PCR WT 1 2 3 4 5 N OsDFR Actin การตรวจสอบการแสดงออกของยีน OsDFR ในข้าวพันธุ์ Kasalath ด้วยเทคนิค RT-PCR โดยใช้ไพรเมอร์ที่จำเพาะต่อยีน OsDFR หมายเหตุ ช่อง WT คือ ข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ไม่ได้รับการถ่ายยีน ช่องที่ 1 - 5 คือ ดีข้าวพันธุ์ Kasalath ที่ได้รับการถ่ายยีนต้นที่ 5 - 9 ตามลำดับ ช่องที่ N คือ น้ำกลั่น

สรุปผลการทดลอง การถ่ายยีน จากการถ่ายยีน OsDFR เข้าสู่แคลลัสข้าวพันธุ์ Kasalath จากนั้นทำการตรวจสอบประสิทธิภาพการถ่ายยีนด้วยวิธี GUS assay พบว่าการถ่ายยีนทั้ง 2 ครั้ง มีประสิทธิภาพการถ่ายยีนอยู่ที่ 60 และ 80 เปอร์เซนต์ การเพาะเลี้ยงแคลลัสบนอาหารคัดเลือกที่มีสารปฏิชีวนะไฮโกรมัยซิน และการรอดตายของแคลลัสบนอาหารคัดเลือกครั้งที่ 2 คิดเป็นเปอร์เซ็นต์สูงสุดอยู่ที่ 100 และ 98.1 เปอร์เซ็นต์ จากการถ่ายยีนได้ต้นข้าวจำนวน 11 ต้น และเมื่อทำการย้ายปลูกลงดินพบว่ามีจำนวน 9 ต้น ที่มีการเจริญเติบโต จากนั้นทำการตรวจสอบการแสดงออกของยีน gusA พบว่าเกิดสีฟ้าจำนวน 9 ต้น คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์

สรุปผลการทดลอง (ต่อ) เมื่อนำต้นข้าวทั้ง 9 ต้น ที่ได้มาทำการตรวจสอบยีน OsDFR ด้วยเทคนิค PCR พบว่ามีต้นข้าวจำนวน 7 ต้น ที่ให้ผล PCR เป็นบวก แสดงว่าต้นข้าวทั้ง 7 ต้น มียีน OsDFR ที่โคลนได้จากใบอ่อนข้าวพันธุ์ก่ำ เข้าไปแทรกอยู่ในจีโนม ต้นที่ได้มีลักษณะต้นและใบสีเขียว พบว่าไม่มีความแตกต่างเมื่อเปรียบเทียบกับต้น wild-type จากการวิเคราะห์การกระจายตัวของยีน gusA ในข้าวดัดแปลงพันธุกรรมรุ่น T1 พบว่า มีการกระจายตัวของยีนไปสู่รุ่นลูก เป็นไปตามกฏของเมนเดลคือ อัตราส่วน 3 : 1 การวิเคราะห์การแสดงออกของยีน OsDFR ในข้าวดัดแปลงพันธุกรรมรุ่น T1 พบว่า มีการแสดงออกของยีน OsDFR ที่สูง เมื่อเปรียบเทียบกับต้น wild-type

กิตติกรรมประกาศ