JAVASCRIPT Jquery – Web Programming and Web Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Javascripts.
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การใช้งานโปรแกรม SPSS
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
การใช้งาน Microsoft Excel
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (while, do-while)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
เกม คณิตคิดเร็ว.
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [2] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
IP-Addressing and Subneting
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
PHP (1) - variables - math operations - form method
ภาษา JavaScript Webpage Design and Programming Workshop ( )
PHP (2) - condition - loop
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
Work Shop 1.
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การใช้ jQuery จัดการอีเวนต์
บทที่ 5 ภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับการผลิตระบบการสอนบนเครือข่าย
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Object-Oriented Programming Paradigm
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
PHP (3) - Function - cookie - Session
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Method and Encapsulation
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

JAVASCRIPT Jquery 030523315 – Web Programming and Web Database Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka

แนะนำ Javascript Javascript เป็นโปรแกรมที่ทำงานที่ฝั่ง client ซึ่งก็คือทำงานบน web browser ของผู้ใช้งาน Javascript สามารถใช้ในการเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆ , attribute และ style ของ HTML element ได้ Javascript สามารถใช้ในการตรวจสอบข้อมูลก่อนที่จะส่งไปประมวลผล ได้ Javascript ถือว่าเป็นภาษาโปรแกรมอีกภาษาหนึ่ง ที่มีหลักไวยากรณ์ คล้ายคลึงกับภาษา Java ภาษา Javascript ไม่ใช่ภาษา Java อย่าเรียกมั่ว

ตำแหน่งการใช้งาน Javascript สามารถวางโปรแกรมในส่วนของ javascript ไว้ที่ใดก็ได้ในหน้าเว็บ ไม่ ว่าจะเป็นใน <body> หรือ ใน <head> ส่วนของโปรแกรม javascript จะต้องอยู่ระหว่าง <script> และ </script> หรือถ้ามีการเขียนโปรแกรม javascript แยกต่างหาก ออกจากหน้าเว็บ ส่วนใหญ่จะใช้นามสกุลเป็น .js จะสามารถอ้างอิงไปใช้งานได้ด้วยก็ใช้ <script src = “myScript.js”></script>

ตัวอย่างการใช้งาน Javascript เบื้องต้น <!DOCTYPE html> <html> <body> <h1>My First Web Page</h1> <p>My first paragraph.</p> <script> window.alert(5 + 6); </script> </body> </html>

Javascript Syntax ไวยกรณ์ของภาษา Javascript คล้ายกับภาษา C และภาษา Java คือ จะต้องลงท้ายคำสั่งด้วย semicolon (;) และ case-sensitive การประกาศตัวแปรใน Javascript ใช้ keywoard var สามารถเก็บข้อมูลพื้นฐานได้ทั้งจำนวนเต็ม จำนวนจริง และข้อความ ตัวอย่างการใช้งาน var firstname = “Choopan”; var lastname = ‘Rattanapoka’; var pi = 3.14; var x; x = 5;

Javascript Arithmetics Operators สำหรับตัวแปรประเภทข้อความ เครื่องหมาย + ใช้สำหรับการเชื่อมต่อข้อความ var a = “Hello”; var b = “World”; var c = a + b;

Javascript Comparison and Logical Operators

Javascript Data types (1) Number var length = 16; String var name = “Choopan”; Array (Speical type of Object) var cars = [“Toyota”, “Honda”, “Mazda”]; Object var obj = {firstname: “Choopan”, lastname: “Rattanapoa”}; Boolean var b = true; var c = false;

ตรวจสอบประเภทข้อมูล <!DOCTYPE html> <html> <body> <script> var length = 16; var name = "Choopan"; var cars = ["Toyota", "Honda", "Mazda"]; var obj = {firstname: "Choopan", lastname: "Rattanapoa"}; var b = true; window.alert(typeof length + "\n“ + typeof name + "\n" + typeof cars + "\n" + typeof obj + "\n" + typeof b ); </script> </body> </html>

การเขียน function ของ Javascript function ชื่อฟังก์ชัน (parameter1, parameter2, …) { // code return … ; //ถ้ามี } <script> function sum(a, b) { return (a + b); } var x = sum(5, 4); alert(“X = “ + x); </script>

การเข้าถึงข้อมูล HTML แบบ DOM HTML DOM (Document Object Model)

ความสามารถของ Javascript JavaScript สามารถเปลี่ยนข้อมูลของ HTML elements ในหน้าเว็บ JavaScript สามารถเปลี่ยนข้อมูลของ HTML attributes ในหน้าเว็บ JavaScript สามารถใช้เปลี่ยนแปลงข้อมูลของ CSS styles ในหน้าเว็บ JavaScript สามารถลบ HTML elements และ attributes ได้ JavaScript สามารถเพิ่ม HTML elements และ attributes ได้ JavaScript สามารถตอบสนองกับ HTML events ในหน้าเว็บ JavaScript สามารถสร้าง HTML events ใหม่ในหน้าเว็บได้

ตัวอย่างที่ 1 เมธอด getElementById( ) : <html> <body> <p id="demo"></p> <script> document.getElementById("demo").innerHTML = "Hello World!"; </script> </body> </html> เมธอด getElementById( ) : เป็นเมธอดเพื่อให้ในการค้นหา HTML element ที่มีค่า id ตามที่กำหนด คุณลักษณะ innerHTML( ) : เป็นคุณลักษณะที่ใช้แทนที่ข้อมูลระหว่าง HTML element นั้นๆ

Javascript Events การใช้งานจะอยู่ในรูปแบบ : <some-HTML-element some-event='some JavaScript'>

ตัวอย่างที่ 2 <!DOCTYPE html> <html> <head> <script> function mover() { document.getElementById("mytext").innerHTML = "In"; } function mout() { document.getElementById("mytext").innerHTML = "Out“; } </script> </head> <body> <div id="mytext" onmouseover="mover();" onmouseout="mout();">Hello</div> </body> </html>

HTML button <button>ค่าที่แสดงบนปุ่ม</button> ตัวอย่าง <button>Submit</button> <!DOCTYPE html> <html> <body> <button onclick=“alert(‘Hello World’);">Click Me</button> </body> </html>

การใช้ javascript รับค่าจาก HTML input document.getElementById(“ชื่อ id”).value <!DOCTYPE html> <html><head><script> function func1() { var name = document.getElementById("name").value; var age = document.getElementById("age").value; alert("Hello," + name + ".\nYou are " + age + " years old"); } </script></head> <body> Name : <input type="text" id="name"> <br> Age : <input type="text" id="age"> <br> <button onclick="func1();">Click Me</button> </body> </html>

เขียน javascript ให้ทำการบวกตัวเลข ผลลัพธ์ถูกไหม ? <!DOCTYPE html> <html><head><script> function func1() { var a = document.getElementById("a").value; var b = document.getElementById("b").value; document.getElementById("c").value = a + b; } </script><body> A = <input type="text" id="a"><br> B = <input type="text" id="b"><br> A + B = <input type="text" id="c" readonly><br><br> <button onclick="func1();">Calculate</button> </body></html>

เขียน javascript ให้ทำการบวกตัวเลข (ปรับปรุง) <!DOCTYPE html> <html><head><script> function func1() { var a = parseInt(document.getElementById("a").value); var b = parseInt(document.getElementById("b").value); document.getElementById("c").value = a + b; } </script><body> A = <input type="text" id="a"><br> B = <input type="text" id="b"><br> A + B = <input type="text" id="c" readonly><br><br> <button onclick="func1();">Calculate</button> </body></html>

การเขียนเงื่อนไข if ( เงื่อนไข ) { … } else if ( เงื่อนไข ) { } else { } switch( ตัวเปรียบเทียบ ) {     case n1 :         …         break;     case n2 :         …         break;     default:         … }

คำสั่งวนรอบ for (statement 1; statement 2; statement 3) {     code block to be executed } while (condition) {     code block to be executed } do {     code block to be executed } while (condition);

จงหาผลการรันของโปรแกรม <!DOCTYPE html> <html><head><script> function func1() { var result = 0; var a = parseInt(document.getElementById("a").value); for(var i = 0; i <= a; i++) { result += i; } document.getElementById("b").value = result; </script><body> A = <input type="text" id="a"><br> B = <input type="text" id="b" readonly><br><br> <button onclick="func1();">Calculate</button> </body></html>

jQuery jQuery เป็น Javascript Library Javascript Library มีหลายเจ้า แต่ jQuery จะได้รับความนิยม มากที่สุด รวมถึงเว็บใหญ่ๆ ก็ได้ใช้ jQuery เช่น Google Microsoft IBM Netflix

การเรียกใช้ jQuery สามารถใช้ได้ 2 วิธี 1) ดาวน์โหลด jQuery จาก jquery.com แล้วเรียกใช้งานเหมือนการ อ้างอิง javascript ปกติ <head><script src=“jquery-xxx.js”></script></head> 2) ใช้การ include jQuery จาก CDN <head> <script src="https://ajax.googleapis.com/jquery.min.js"></script> </head>

การเขียนโปรแกรมหลักของ jQuery $(document).ready(function(){    // jQuery methods go here... }); $(function(){    // jQuery methods go here... });

jQuery Syntax $(selector).action( ) selector : เป็นชื่อที่ใช้ค้นหา HTML element $(this) – HTML element ปัจจุบัน $(“p”) – HTML element <p> $(“.test”) – HTML element ที่เป็น class = “test” $(“#test”) – HTML element ที่มี id = “test” action

ตัวอย่างการใช้งาน jQuery (1) <!DOCTYPE html> <html><head> <script src="https://code.jquery.com/jquery-2.1.4.min.js"></script> <script> $(function(){ $('#show').click(function() { $('#message').show(); }); $('#hide').click(function() { $('#message').hide(); </script><body> <div id="message">Hello World</div> <BR><BR> <button id="show">Show</button> <button id="hide">Hide</button> </body></html>

ตัวอย่างการใช้งาน jQuery (2) <!DOCTYPE html> <html><head> <script src="https://code.jquery.com/jquery-2.1.4.min.js"></script> <script> $(function(){ $('#mytext').mouseenter(function() { $(this).css("background-color", "lightgray"); }); $('#mytext').mouseleave(function() { $(this).css("background-color", "lightblue"); $('#mytext').click(function() { $(this).css("background-color", "yellow"); </script><body> <div id="mytext">Hello World</div> </body></html> ในกรณีที่ต้องการดักจับ event มากกว่า 1 ตัว สำหรับ HTML element เดียวกัน สามารถใช้ action on( ) แทนได้

ตัวอย่างการใช้งาน jQuery (3) <!DOCTYPE html> <html><head> <script src="https://code.jquery.com/jquery-2.1.4.min.js"></script> <script> $(function(){ $('#mytext').on({ mouseenter : function() { $(this).css("background-color", "lightgray"); }, mouseleave : function() { $(this).css("background-color", "lightblue"); }, click : function() { $(this).css("background-color", "yellow"); } }); </script><body> <div id="mytext">Hello World</div> </body></html>

การตั้งค่าและดึงค่าจาก HTML input ใน javascript เราใช้ var a = document.getElementById("demo").value; document.getElementById("demo").value = “xx”; ใน jQuery เราสามารถเข้าถึง HTML element ได้โดนตรงผ่าน selector var a = $(“#demo”).val(); $(“#demo).val(“xx”); jQuery ตั้งค่า attribute ของ HTML element ด้วย $(selector).attr(ชื่อ attribute, ค่าที่ต้องการตั้ง)

ทำด้วยกันก่อน : แก้หน้า post.php มาทำ webboard kakkak กันต่ออีกซักหน่อย ทำหน้า post_save.php เพื่อเก็บข้อมูลของการ ตอบกลับ ซึ่งจะเก็บไว้ในตาราง comment โดยเราจะเก็บข้อมูลของ id ผู้ comment และ id ของกระทู้ อันดับแรกปรับ post.php ให้ form ส่งข้อมูลไปหา post_save.php ด้วยเมธอด POST และต้องให้ ส่ง id ของกระทู้ไปด้วย

ทำด้วยกันก่อน : สร้างหน้า post_save.php ตาราง comment

งานที่ทำเอง : แก้ไขหน้า post.php แก้ไขหน้า post.php ให้แสดงข้อความของทุกคนที่ comment ไว้ในกระทู้ โดยเรียงจากวันที่ comment จากวันเก่าสุดไปใหม่สุด ให้แสดงประมาณภาพด้านล่าง

เวลาจะทันไหม : delete.php ถ้าเข้ามาด้วยสิทธิ admin จะสามารถลบกระทู้ได้ เพื่อให้ฐานข้อมูล clean มากที่สุด เวลามีการลบกระทู้ จะต้องลบข้อมูลในตาราง post และต้องลบ ข้อมูลในตาราง comment ที่เกี่ยวกับกระทู้นั้นออกไปด้วย ลองแทรก javascript ให้มีกล่องเตือนเมื่อ admin กดปุ่มลบ