บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Introduction to C Programming
ควบคุมการทำงานด้วยเงื่อนไข Control Statement
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Lecture no. 5 Control Statements
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
การควบคุมทิศทางการทำงาน
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
ฟังก์ชั่น function.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Lecture no. 10 Files System
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
Javascripts.
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
รูปแบบ if-else if if (เงื่อนไข1) {
Flow Control.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Output of C.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 5 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
โครงสร้างภาษาซี C ++ structure
การเขียนโปรแกรมภาษาเบื้องต้น (ภาษาซี)
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การประมวลผลแบบวน ( LOOP )
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C
บทที่ 4 การรับและแสดงผลข้อมูล
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
Chapter 4 ข้อความสั่ง เลือกทำ.
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
INC 161 , CPE 100 Computer Programming
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
ภาษา C เบื้องต้น.
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
PHP (2) - condition - loop
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Chapter 2 ตัวดำเนินการ และนิพจน์.
Chapter 7 ฟังก์ชัน Function.
บทที่ 3 โครงสร้างควบคุม Control Structures
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
Introduction to Computer Programming
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
Decision: Multi Selection (if-else-if, switch)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ตัวแปร (Variables) รายวิชา สธ 113 การออกแบบโปรแกรมทาง ธุรกิจเบื้องต้น อ.อภิพงศ์ ปิงยศ

Overview การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) การเก็บข้อมูลของตัวแปร การรับ/แสดงข้อมูล การคำนวณทางคณิตศาสตร์

การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) ตัวแปรในภาษาซีแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตัวแปรพื้นฐานที่หมายถึงตัวแปรที่เก็บข้อมูลได้ เพียงค่าเดียว และตัวแปรชุด คือ ตัวแปรที่ สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้หลายค่าภายในตัวแปรตัว ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ใน หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลที่ ต้องใช้ในการทำงานของโปรแกรม โดยมีการตั้ง ชื่อเรียกหน่วยความจำในตำแหน่งนั้นด้วย เพื่อ ความสะดวกในการเรียกใช้ข้อมูล ถ้าจะใช้ข้อมูล ใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้

ชนิดของข้อมูลในภาษาซี (Data Type) 1) ข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer) คือข้อมูล ที่เป็นเลขจำนวนเต็ม ได้แก่ จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ ศูนย์ ใช้พื้นที่ในการเก็บ 2 ไบต์ 2) ข้อมูลชนิดตัวเลขทศนิยม (Float) คือข้อมูลที่ เป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์ 3) ข้อมูลชนิดเลขฐานแปด (Octal) 4) ข้อมูลชนิดเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) 5) ข้อมูลชนิดตัวอักขระ (Character) คือข้อมูลที่ เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าจำนวนเต็มได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข และกลุ่มตัวอักขระพิเศษใช้พื้นที่ ในการเก็บข้อมูล 1 ไบต์ 6) ข้อมูลชนิดข้อความ (String)

ตัวแปรพื้นฐานในภาษาซีที่กำหนดตามมาตรฐาน ANSI C

รูปแบบการประกาศตัวแปร ในภาษาซีมีรูปแบบการประกาศตัวแปร ดังนี้  ตัวอย่างการประกาศตัวแปร เช่น int num; float grade; หากต้องการประกาศตัวแปรหลายตัวชนิดเดียวกันก็สามารถ ทำได้ โดยการใช้เครื่องหมาย , คั่น เช่น int a,b,c; การประกาศตัวแปร หากอยู่ก่อนฟังก์ชันใดๆ จะเป็น Global Variables แต่หากอยู่ภายในฟังก์ชั่นใด หลังจาก เครื่องหมาย { จะเป็น Local Variable

รูปแบบการประกาศตัวแปร [cont.] นอกจากนี้ยังสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรไป พร้อมกับการประกาศตัวแปร เช่น int num = 1; char ch = ‘#’, d = ‘D’; โดยหลักการตั้งชื่อตัวแปรมาใช้งานนั้น ควรคำนึงถึงว่า จะต้องตั้งให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของภาษาซี และ ควร จะตั้งชื่อตัวแปรให้สอดคล้องกับการทำงานหรือหน้าที่ของ ตัวแปรนั้นๆ เพราะเมื่อถึงเวลาต้องมาทำการปรับปรุงแก้ไข โปรแกรม จะสามารถทำได้โดยไม่ยากนัก ชื่อตัวแปร ประกอบด้วย ตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมาย_และต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข ตัวแปรมีความ ยาวเท่าไรก็ได้ แต่คอมไพเลอร์ตามมาตรฐาน ANSI C จะพิจารณาเฉพาะ 31 ตัวแรกเท่านั้น ชื่อ A1 และ a1 จะเป็นคนละตัวแปร ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word)

คำสงวน (Reserved Word) auto default float register struct volatile break do far return switch while case double goto short typedef char else if signed union const enum int sizeof unsigned continue extern long static void

ตัวอย่างการตั้งชื่อ ถูกต้อง bath_room ถูกต้อง n-sync ผิดหลักการ เนื่องจากมีเครื่องหมาย - ปรากฎในชื่อ 108dots ผิดหลักการ เนื่องจากขึ้นต้นด้วยตัวเลข Year# ผิดหลักการ เนื่องจากมีเครื่องหมาย # อยู่ในชื่อ _good goto ผิดหลักการ เนื่องจากเป็นคำสงวน work break

การรับ/แสดงข้อมูล ในการเขียนโปรแกรมนั้น เราจะต้องมีการใช้ Place Holders ในการรับ ข้อมูลจากผู้ใช้ (ผ่านคำสั่ง scanf) หรือแสดงข้อมูลต่อผู้ใช้(ผ่านคำสั่ง printf) โดยรูปแบบการใช้ Place Holders นั้น จะขึ้นอยู่กับชนิดของตัวแปร เช่น

Control Character

Program Output Enter first integer 45 Enter second integer 72 Sum is 117

การคำนวณทางคณิตศาสตร์

การคำนวณทางคณิตศาสตร์ [cont.]

เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบ

ลำดับความสำคัญในการทำงาน

ตัวอย่างลำดับการทำงานของ y = 2 * 5 * 5 + 3 * 5 + 7

fig02_09.c (Part 1 of 2)

fig02_09.c (Part 2 of 2) Program Output Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: 3 7 3 is not equal to 7 3 is less than 7 3 is less than or equal to 7

Program Output (continued) Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: 22 12 22 is not equal to 12 22 is greater than 12 22 is greater than or equal to 12 Enter two integers, and I will tell you the relationships they satisfy: 7 7 7 is equal to 7 7 is less than or equal to 7 7 is greater than or equal to 7

References เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 259201 Computer Programming for Engineers ปี การศึกษา 2556, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ธีรวัฒน์ ประกอบผล, คู่มือการเขียนโปรแกรม ภาษา C ฉบับสมบูรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : รีไวว่า, 2557