เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข การพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 2560 เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ข้าราชการบำนาญ กรมควบคุมโรค
Vaccines Immunity span Coverage rate Target groups Expanded Program on Immunization Immunity span Coverage rate
สภาพปัญหา EPI 1. เพิ่มคุณภาพการบริการ : เทคนิคการบริการถูกต้อง : ประสิทธิภาพการรายงาน AEFI และเตรียมพร้อมรับมือเมื่อเกิดเหตุการณ์ : ลดปัญหา COLD CHAIN เย็นจัด : เทคนิคการบริการถูกต้อง 3
EPI… 2. เร่งรัดตรวจสอบรายงานที่เกี่ยวกับวัคซีน ทั้งในเด็กเล็ก มารดา และ นักเรียน : ความครอบคลุมวัคซีน เน้นการรายงานให้เป็นไปตามจริง : ความครบถ้วน/ถูกต้องของการรายงานผู้รับบริการวัคซีน ใน 12+8 (รพ.) และ 21 แฟ้ม : รายงานการระบาด และควบคุม OUTBREAK ได้รวดเร็ว 4
ผลการประเมินมาตรฐาน EPI ใน 33 จังหวัด ปี 2559 1 บริหาร จัดการทั่วไป 2 บริหารจัดการ วัคซีนและระบบ ลูกโซ่ความเย็น คลังวัคซีนอำเภอ ร้อยละ 76.5 ร้อยละ 82.2 ภาพรวม ร้อยละ 81.6 หน่วยบริการ ร้อยละ 79.6 2 การให้บริการวัคซีน 3 การบริหารจัดการข้อมูล 1 การบริหารจัดการวัคซีนและลูกโซ่ความเย็น ร้อยละ 86.6 (71.8, 87.3) (85.7, 87.5) ร้อยละ 80.2 (79.2, 86.4) ภาพรวม ร้อยละ 82.8 เป้าหมาย ปี 60 : ผลการประเมินมาตรฐาน > ร้อยละ 80 (ทุกมาตรฐานและภาพรวม)
EPI… พันธะสัญญา นานาชาติ 3. รักษาระดับงานกวาดล้างโปลิโอ ให้ไทยคงเป็นประเทศที่ ไม่มี ผู้ป่วยโปลิโอต่อไป X Thailand is a polio-free country 4. เร่งรัดโครงการกำจัดโรคหัด 6
วัตถุประสงค์ (2560) กวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไป กำจัดโรคหัดทุกกลุ่มอายุ < 4 ต่อประชากรล้านคน (260 ราย) กำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด < 1 ต่อ1,000 เด็กเกิดมีชีพรายจังหวัด ลดอัตราป่วย คอตีบ < 0.015 ต่อประชากรแสนคน (10 ราย) ไอกรน < 0.08 ต่อประชากรแสนคน (50 ราย) โรคไข้สมองอักเสบเจอี < 0.15 ต่อประชากรแสนคน (90 ราย) 1 2 3 4 7
ตัวชี้วัด ให้บริการวัคซีน โดยให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ ทุกคนได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบชุด เกินกว่าร้อยละ 90 เด็กอายุครบ 1 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage BCG > 90% รายหมู่บ้าน/ตำบล/เทศบาล coverage HB3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage DTP3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage OPV3 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage MMR1 > 95% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-MMR1 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล
ภูมิคุ้มกันของกลุ่ม (Herd immunity) ภูมิคุ้มกันของกลุ่มและชุมชน ซึ่งความสามารถในการต้านทานโรค จะขึ้นอยู่กับระดับความครอบคลุม ของบุคคลที่มีภูมิคุ้มกันในกลุ่ม/ชุมชนนั้น
HERD IMMUNITY THRESHOLD โรค การถ่ายทอดโรค R0 Herd immunity threshold คอตีบ ทางระบบทางเดินหายใจ 6-7 85% หัด 12-18 83-94% คางทูม 4-7 75-86% ไอกรน 12-17 92-94% R0 = Basic reproduction rate
HERD IMMUNITY THRESHOLD โรค การถ่ายทอดโรค R0 Herd immunity threshold โปลิโอ ผ่านเข้าทางปาก (fecal-oral route) 5-7 80-86% หัดเยอรมัน ทางระบบทางเดินหายใจ 80-85% ไข้ทรพิษหรือฝีดาษ สัมผัสผู้ป่วย 6-7 83-85%
เด็กอายุครบ 2 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 2 ปี พ. ศ เด็กอายุครบ 2 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 2 ปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage DTP4 > 90% รายหมู่บ้าน/ตำบล/เทศบาล coverage OPV4 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage JE1 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-DTP4 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล เด็กอายุครบ 3 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 3 ปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage JE2 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage MMR2 > 95% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-JE2 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล
เด็กอายุครบ 5 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 5 ปี พ. ศ เด็กอายุครบ 5 ปี (ประเมินเด็กที่เกิดในเดือนนี้ เมื่อ 5 ปี พ.ศ. ที่ผ่านมา) coverage DTP5 > 90% รายหมู่บ้าน/ตำบล/เทศบาล coverage OPV5 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล coverage BCG-DTP5/OPV5 > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล หญิงมีครรภ์ (ประเมินแม่ที่มีลูกที่เกิดในเดือนนี้) coverage T ครบชุดในแม่ที่มีลูกอายุ < 1 เดือน > 90% รายหมู่บ้าน/ ตำบล/เทศบาล
เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เด็กนักเรียนหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน HPV2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เป็นรายโรงเรียน เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน dT ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เป็นรายโรงเรียน
ผลการสำรวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ปี 2542 & 2546 & 2551 & 2556 ผลการสำรวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ปี 2542 & 2546 & 2551 & 2556 Vaccine 2542 2546 2551 2556* BCG 98 99 99.9 100 DTP3 97 98.7 99.4 OPV3 HB3 95 96 98.4 M/MMR 94 98.1 JE2 84 87(ทั่วประเทศ) 94.6 96.1 JE3 - 62 89.3 91.9 DTP4 90 93 96.5 97.8 DTP5 54 79.4 90.3 T2 + booster 2556 * รายงานเบื้องต้น National Immunization Program, Thailand
การสำรวจความครอบคลุมการได้วัคซีนในเด็กนักเรียน ปี 2547 และ 2551 ร้อยละ 2547 2551 source: EPI / CDC / MOPH
การให้วัคซีนในโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สถานบริการที่อยู่ในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพทุกแห่ง ให้บริการวัคซีนขั้นพื้นฐานแก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคน ที่มาขอรับบริการ ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่รับผิดชอบของสถานบริการ รวมถึงให้บริการวัคซีนกลุ่มประชากรเป้าหมายที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน สำหรับกลุ่มเป้าหมายชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย ให้เหมือนเด็กไทยทุกตัว การให้บริการดังกล่าว สถานบริการทุกแห่งที่อยู่ในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ไม่สามารถเรียกเก็บเงินค่าบริการใดๆ ทั้งสิ้น
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Immunization) เป้าหมายสูงสุด คือ การกวาดล้างโรคให้หมดไป หรือกำจัดโรคให้หมดไป จุดมุ่งหมาย ณ ปัจจุบันในการให้วัคซีน คือ การป้องกันโรคของบุคคล และกลุ่มคน รวมทั้งชุมชนนั้นๆ ด้วย
ชนิดของการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 20
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเอง (Active Immunization) การติดเชื้อตามธรรมชาติ (natural infection) การฉีดวัคซีน (immunization) ภูมิคุ้มกันที่ได้รับมา (Passive Immunization) จากคน เช่น อิมมูโนโกบูลิน, พลาสมา จากสัตว์ เช่น เซรุ่ม
ชนิดของวัคซีนที่ใช้ใน EPI
กลุ่มที่ 1 ท็อกซอยด์ (toxoid) ใช้ป้องกันโรคที่เกิดจากพิษ (toxin) ของเชื้อแบคทีเรีย ไม่ได้เกิดจากตัวแบคทีเรียโดยตรง ผลิตโดยนำพิษของแบคทีเรียมาทำให้สิ้นพิษ แต่ยังสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ เช่น วัคซีนคอตีบ วัคซีนบาดทะยัก โดยทั่วไปเมื่อฉีดท็อกซอยด์จะมีไข้ หรือปฏิกิริยาเฉพาะที่เล็กน้อย แต่ถ้าเคยฉีดมาแล้วหลายครั้ง หรือร่างกายมีภูมิคุ้มกันสูง อยู่ก่อนแล้ว อาจเกิดปฏิกิริยามากขึ้น ทำให้มีอาการบวม แดง เจ็บบริเวณที่ฉีด และมีไข้ได้
กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อตาย (inactivated หรือ killed vaccine) แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้ 2 กลุ่ม คือ 2.1 วัคซีนที่ทำจากแบคทีเรียหรือไวรัสทั้งตัวที่ทำให้ตายแล้ว (whole cell vaccine หรือ whole virion vaccine) วัคซีนที่ทำจากเชื้อแบคทีเรียมักจะทำให้เกิดปฏิกิริยาบริเวณที่ ฉีด บางครั้งอาจมีไข้ด้วย อาการมักจะเริ่มหลังฉีด 3-4 ชั่วโมง และจะคงอยู่ประมาณ 1 วัน บางครั้งอาจนานถึง 3 วัน
กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อตาย (inactivated หรือ killed vaccine) : ต่อ ตัวอย่างของวัคซีนในกลุ่มนี้ได้แก่ วัคซีนไอกรน วัคซีนอหิวาตกโรค วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด วัคซีนพิษสุนัขบ้า วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดน้ำ (เชื้อตาย) วัคซีนกลุ่มนี้มักจะต้องเก็บไว้ในตู้เย็น ห้ามเก็บในตู้แช่แข็ง เพราะจะทำให้แอนติเจนเสื่อมคุณภาพ
กลุ่มที่ 2 วัคซีนชนิดเชื้อตาย (inactivated หรือ killed vaccine) : ต่อ 2.2 วัคซีนที่ทำจากบางส่วนของแบคทีเรียหรือไวรัส ที่เกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกัน (subunit vaccine) วัคซีนในกลุ่มนี้ มักมีปฏิกิริยาหลังฉีดน้อย วัคซีนในกลุ่มนี้ เช่น วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนฮิบ (Haemophilus influenzae type b) วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ (acellular pertussis vaccine) วัคซีนไข้ทัยฟอยด์ชนิดวีไอ (Vi vaccine) วัคซีนนิวโมคอคคัส
กลุ่มที่ 3 วัคซีนชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (live attenuated vaccine) ทำจากเชื้อที่ยังมีชีวิตอยู่แต่ทำให้ฤทธิ์อ่อนลงแล้ว เช่น วัคซีนโปลิโอชนิดกิน วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน วัคซีนสุกใส วัคซีนวัณโรค (BCG) วัคซีนไข้ทัยฟอยด์ชนิดกิน วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (เชื้อเป็น SA14-14-2) วัคซีนในกลุ่มนี้ เมื่อให้เข้าไปในร่างกายแล้วจะยังไม่มีปฏิกิริยาทันที ตัวอย่างเช่น วัคซีนหัด จะทำให้เกิดอาการไข้ประมาณ วันที่ 5 ถึงวันที่ 12 หลังฉีด วัคซีนในกลุ่มนี้จะต้องเก็บไว้ในอุณหภูมิต่ำตลอดเวลา (cold chain) เพราะถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นเชื้อจะตาย การให้วัคซีนจะไม่ได้ผล
กลุ่มที่ 3 วัคซีนชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (live attenuated vaccine) : ต่อ นอกจากนี้ถ้าร่างกายมีภูมิคุ้มกันเดิมอยู่บ้าง เช่น ได้รับอิมมูโนโกลบุลิน อาจขัดขวางการออกฤทธิ์ของวัคซีน การให้วัคซีนกลุ่มนี้แก่ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือผู้ที่ได้รับยาหรือสารกดภูมิคุ้มกันจะต้องระมัดระวัง เพราะอาจมีอันตรายได้
วัคซีน BCG วัคซีน BCG ฉีดแรกเกิดแล้วมีภูมิคุ้มกันอย่างไร ? TB แบบแพร่กระจาย, TB meningitis = 75-86% Pulmonary TB = 50% ประสิทธิภาพนี้ป้องกันได้ยาวนาน การให้วัคซีนซ้ำไม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ (แม้ว่าครั้งก่อนจะไม่เห็นแผลเป็น) ขนาดของแผลเป็นไม่สัมพันธ์กับภูมิคุ้มกัน
BCG Vaccination BCG Papule 2-3 wks Ulceration 6-8 wks Scar 12 wks
ตับ อักเสบ บี 31
Chronic persistent hepatitis Chronic active hepatitis Cirrhosis Acute viral hepatitis Asymptomatic carrier Chronic persistent hepatitis Chronic active hepatitis Cirrhosis Primary hepatocellular carcinoma 32
Hepatitis B Virus HBsAg HBcAg HBcAg HBeAg Although HBV has numerous antigens, only the presence of HBsAg indicates active infection. Antibody to HBsAg, from either disease or vaccine, indicates immunity. HBcAg HBcAg HBeAg
Hepatitis B Perinatal Transmission ถ้ามารดาที่เป็นพาหะมี HBsAg positive เพียงอย่างเดียว เด็กทารกจะมีโอกาสติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดา 20% เด็กทารกที่ติดเชื้อจะมีโอกาสเป็นพาหะเรื้อรัง 90% ถ้ามารดาที่เป็นพาหะมี HBsAg และ HBeAg positive เด็กทารกมีโอกาสติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดา 70%-90% เด็กทารกที่ติดเชื้อแล้วมีโอกาสเป็นพาหะเรื้อรัง 90% *in the absence of postexposure prophylaxis
National Immunization Program, Thailand Q. กรณีแม่เป็นพาหะ HB s Ag +ve จะให้วัคซีน HB อย่างไร? A. จากการศึกษาที่เชียงราย พบว่า ในรายที่แม่ HB s Ag +ve ควรให้วัคซีน HB เดี่ยวเพิ่มเมื่อเด็กอายุ 1 เดือน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ซึ่งเด็กจะได้ HB ทั้งหมด 5 ครั้งคือ HB แรกเกิด และ 1 เดือน DTP-HB ที่ 2, 4 และ 6 เดือน กรมอนามัย + สปสช. กำหนดให้แม่ที่ฝากครรภ์ ต้องตรวจหา HB s Ag +ve ทุกราย
ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก กรณีที่แม่ เป็นพาหะ HB s Ag +ve อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 1 เดือน HB2 2 เดือน OPV1, DTP- HB1 4 เดือน OPV2, DTP- HB2 6 เดือน OPV3, DTP- HB3 HB1 HB2 HB3 HB4 HB5
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ In April 2016, withdraw type 2 เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ข้าราชการบำนาญ กรมควบคุมโรค
กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ ให้ IPV 1 ครั้ง แก่เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 4 เดือน IPV , OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV ในครั้งแรก และให้วัคซีนอื่นๆ ต่อตามกำหนดการเดิม
IPV bivalentOPV trivalent OPV bivalent OPV
ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ การให้บริการ IPV OPV ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. หยอดวัคซีน ครั้งละ 2 – 3 หยด การให้บริการ 1 ให้วัคซีน IPV โดยการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. 2. ให้วัคซีน OPV ให้หยอดวัคซีน 2 – 3 หยดขึ้นกับ เอกสารกำกับยา ทั้งนี้ กำหนดให้ทุกสถานบริการทั่วประเทศให้บริการวัคซีน Trivalent OPV ครั้งสุดท้ายภายในวันที่ 22 เมษายน 2559 และเริ่มให้วัคซีน Bivalent OPV ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559 เป็นต้นไป
CD.JEVAC วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ ศ.นพ. หยู เป็นผู้พัฒนาวัคซีน ใช้ในจีนตั้งแต่ ค.ศ. 1988 (ได้รับรางวัลเจ้าฟ้ามหิดล ปี 2552) เป็นวัคซีนชนิด cell culture ตัวแรกที่ผลิตจากเชื้อไวรัส เจอี สายพันธุ์ SA14-14-2 เพาะเลี้ยงใน primary hamster kidney cell วัคซีนเป็นผงแห้ง มี water for injection 0.5 ml อายุของยา 18 เดือน ให้วัคซีนในเด็กอายุ 9 เดือน และฉีดกระตุ้นหลังจากฉีดเข็มแรกไปแล้ว 3-12 เดือน (ขนาด 0.5 ml : Sc) ราคา 350-390 บาท/โด๊ส
อัตราสูญเสียวัคซีน LAJE ชนิด single dose อัตราสูญเสียร้อยละ 1 จำนวน LAJE ที่ใช้ (dose) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.01
อัตราสูญเสียวัคซีน LAJE ชนิด 4 dose/ขวด อัตราสูญเสียร้อยละ 20 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.25
CD.JEVAX® has been introduced for EPI in 29 Provinces Since 2013 เขตบริการสุขภาพที่ 1: 8 จังหวัด เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ลำปาง, ลำพูน, น่าน, แพร่, พะเยา เขตบริการสุขภาพที่ 2: 5 จังหวัด พิษณุโลก, อุตรดิตถ์, เพชรบูรณ์, ตาก, สุโขทัย เขตบริการสุขภาพที่ 5: 8 จังหวัด ราชบุรี, สุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, นครปฐม, เพชรบุรี, สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, ประจวบคีรีขันธ์ เขตบริการสุขภาพที่ 6: 8 จังหวัด ชลบุรี, สมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, ระยอง, จันทบุรี, ตราด สคร.10 2556 สคร.9 2558 สคร.4 สคร.3 2558 2558
ประวัติการได้รับวัคซีน เชื้อตายในอดีต การให้ LAJE ครั้งถัดไป การได้รับวัคซีน JE : เมื่อเด็กได้รับวัคซีน JE เชื้อตายในอดีต แล้วมาต่อด้วย LAJE ประวัติการได้รับวัคซีน เชื้อตายในอดีต การให้ LAJE ครั้งถัดไป การให้วัคซีน JE 1 JE 2 JE 3 เคยได้รับ 1 ครั้ง 2 ครั้ง วันที่ได้รับ (เชื้อตาย) (เชื้อเป็น) เคยได้รับ 2 ครั้ง 1 ครั้ง เคยได้รับ 3 ครั้ง ไม่ต้องให้
ตารางการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามแผนงานของกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมาย เป้าหมาย เด็กอายุ <1 ปี ได้รับ BCG HB3 DTP3 OPV3 MMR1 เด็กอายุ 1 ปี ได้รับ LAJE1 เด็กอายุ 1 ปีครึ่ง ได้รับ DTP4 OPV4 เด็กอายุ 2 ปีครึ่ง ได้รับ LAJE2 และ MMR2 เด็กอายุ 4 ปี ได้รับ DTP5 OPV5 หญิงมีครรภ์ ได้รับ dT ครบชุดตามเกณฑ์ นักเรียนหญิง ป.5 ได้รับ HPV2 นักเรียน ป.6 ได้รับ dT
2560
วัคซีนใหม่ๆ ที่เข้าสู่ EPI IPV ที่อายุ 4 เดือน พร้อม OPV2 ธ.ค. 58 เปลี่ยน JE จาก MBD เป็น live vaccine ทั้งประเทศ มิ.ย. 59 Rotavirus 2562? HPV 2560? Influenza (เพิ่มอายุที่จัดสรร)?? จากเดิมเด็กอายุ 6 เดือน – 2 ปี
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเริ่มให้วัคซีน และระยะห่างระหว่างครั้ง ในกรณีที่พลาดโอกาสรับวัคซีนในเด็กก่อนวัยเรียน 54
อายุเมื่อแรกเริ่ม และระยะห่างระหว่างโด๊ส (ขั้นต่ำ) ในการให้วัคซีนแต่ละชนิด
ให้ได้ตั้งแต่แรกเกิด BCG ให้ได้ตั้งแต่แรกเกิด
ให้ได้ตั้งแต่แรกเกิด ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ HB ให้ได้ตั้งแต่แรกเกิด ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 4 เดือน ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้
ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ DTP อายุ 42 วัน ขึ้นไป ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 6 เดือน อย่างน้อย 1 ปี ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้
DTP-HB 2. ไม่ให้วัคซีนรวม DTP-HB ในเด็กอายุมากกว่า 7 ปี ทั้งนี้ วัคซีนเข็มที่ 3 ต้องห่างจากเข็มที่ 1 อย่างน้อย 4 เดือน
ให้ได้ตั้งแต่แรกเกิด ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ OPV ให้ได้ตั้งแต่แรกเกิด ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 6 เดือน อย่างน้อย 1 ปี ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้
Rotarix Rotateq
ประสิทธิภาพวัคซีนโดยรวม: > 95% (เฉลี่ยโดยรวมร้อยละ 70-75) Rotarix Rotateq ชนิด (สายพันธุ์) Monovalent (G1) Pentavalent (G1, G2, G3, G4, P1[8]) ลักษณะ ยาแขวนตะกอน ขนาด 1.5 ml 2 ml การให้ Oral จำนวนโด๊ส 2 โด๊ส 3 โด๊ส ประสิทธิภาพวัคซีนโดยรวม: > 95% (เฉลี่ยโดยรวมร้อยละ 70-75)
กลุ่มเป้าหมาย ที่จะได้รับวัคซีน Rotarix เด็กเกิดตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2554 ที่มารับบริการในจังหวัดสุโขทัย ให้วัคซีนพร้อม DTP-HB และ OPV กำหนดการให้วัคซีน Rotarix ครั้งที่การให้วัคซีน อายุที่แนะนำ หมายเหตุ 1 2 เดือน ห้ามให้ในเด็กอายุมากกว่า 15 สัปดาห์ 2 4 เดือน ห้ามให้ในเด็กอายุมากกว่า 32 สัปดาห์ ห้ามให้วัคซีนโด๊สแรกแก่เด็กที่อายุเกินกว่าที่แนะนำ เพราะเด็กที่อายุระหว่าง 5 - 12 เดือน เป็นอายุที่มีโอกาสเกิดลำไส้กลืนกัน (intussusceptions) ตามธรรมชาติมากที่สุด
ชนิดของวัคซีน ขนาดบรรจุ ชื่อการค้า : Rotarix เป็นวัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (Live attenuated Virus Vaccine) ผลิตจากเชื้อไวรัสโรต้าสายพันธุ์ที่พบในมนุษย์ ชื่อ RIX 4414 ใน 1 โด๊ส (1.5 มล.) ประกอบด้วย เชื้อปริมาณไม่น้อยกว่า 106.0 CCID50 ขนาดบรรจุ วัคซีนบรรจุอยู่ในกระบอกยา (oral applicator) ปิดด้วยจุกยาง ขนาดบรรจุกล่องละ 1 โด๊ส
ชนิดของการป้องกัน ประสิทธิภาพ ในการป้องกัน ป้องกันการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อโรต้าอย่างรุนแรง > 95 % ป้องกันการป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อโรต้าโดยรวม 70-75 %
Rotateq
กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีน Rota ชนิดวัคซีน อายุที่ให้ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 Rotarix หยอด 2 ครั้ง 2 เดือน ห้ามให้ในเด็กอายุมากกว่า 15 สัปดาห์ 4 เดือน 32 สัปดาห์ - Rotateqหยอด 3 ครั้ง 6 เดือน
อายุเมื่อเริ่มให้ต้องอย่างน้อย 270 วัน (9 เดือนเต็ม) ขึ้นไป MMR อายุเมื่อเริ่มให้ต้องอย่างน้อย 270 วัน (9 เดือนเต็ม) ขึ้นไป
ความครอบคลุมและคุณภาพการได้รับวัคซีนหัด ผลสำรวจ 2551 ครบถ้วน : ได้รับหัด ถูกต้อง : ได้รับหัดอายุ > 9 เดือน ถูกต้อง+อายุ : เมื่อเด็กอายุ < 1 ปี
การให้บริการวัคซีน MR/MMR 2560
การให้วัคซีน MMR ในเด็กก่อนวัยเรียน 1. อายุ 9 เดือน ถึง ต่ำกว่า 2 ปี 6 เดือน 2. อายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง ต่ำกว่า 7 ปี
1. อายุ 9 เดือน ถึง ต่ำกว่า 2 ปี 6 เดือน ประวัติการได้รับวัคซีน MMR/MR การให้วัคซีน MMR ไม่เคยได้รับวัคซีน ครั้งนี้ให้ MMR 1 ครั้ง ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ ได้รับวัคซีน ก่อนอายุ 9 เดือน เคยได้มาแล้ว หลังอายุ 9 เดือน ครั้งนี้ไม่ต้องให้ MMR
2. อายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง ต่ำกว่า 7 ปี 2. อายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง ต่ำกว่า 7 ปี ประวัติการได้รับวัคซีน MMR/MR การให้วัคซีน MMR ไม่เคย/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ 1 ครั้ง และให้ครั้งที่ 2 เมื่ออยู่ ป.1 ได้ 1 ครั้ง 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งที่ 1 > 1 เดือน) ได้ 2 ครั้ง ไม่ต้องให้ MMR
การให้วัคซีน MR/MMR ในเด็กวัยเรียน
การให้วัคซีน MMR/MR ในเด็กวัยเรียน (ป.1/ม.1) ประวัติการได้รับวัคซีน MMR/MR การให้วัคซีน MMR/MR ไม่เคย/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ 1 ครั้ง ได้ 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งที่ 1 > 1 เดือน) ได้ 2 ครั้ง ไม่ต้องให้
ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ LAJE อายุ 1ปี ขึ้นไป ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 CDJE อย่างน้อย 3 เดือน ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ THAIJEV อย่างน้อย 12 เดือน
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
กำหนดการให้วัคซีนป้องกันเอชพีวี กลุ่มเป้าหมาย : 1. นักเรียนหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2. เด็กหญิงอายุ 11-12 ปี ที่อยู่นอกระบบการศึกษา เข็มที่ ระยะเวลา 1 0 (เดือนกรกฎาคม) 2 6 (เดือนมกราคม) หมายเหตุ : ถ้าเด็ก HIV positive ต้องให้ 3 เข็ม (0, 1 , 6)
ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้ dT เมื่อแรกพบ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 อย่างน้อย 1 เดือน อย่างน้อย 6 เดือน กระตุ้นทุก 10 ปี ครั้งที่ 4 ระยะห่างระหว่างครั้งที่ให้
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
วั ค ซี น ป้ อ ง กั น โ ร ค บ า ด ท ะ ยั ก
การเปลี่ยนแปลงการดำเนินงาน EPI ในปี 2548 วัคซีนบาดทะยัก(T) ในหญิงมีครรภ์ เดิม : เมื่อได้รับการฉีดบาดทะยักครั้งที่ 3 แล้วให้ฉีดครั้งที่ 4 เมื่อครบ 5 ปี ใหม่ : เมื่อฉีดวัคซีนรวมคอตีบบาดทะยัก ครบ 3 ครั้ง แล้วให้ฉีดครั้งที่ 4 เมื่อครบ 10 ปี
ระยะห่างระหว่างโด๊ส และระยะเวลาที่ป้องกันได้ ในการได้รับวัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก (dT,T) 10 ปี 30 กค.47 อนุฯสร้างเสริม ปรับให้ dT 3 ครั้ง (แม่ที่ไม่เคยได้ DTP dT T ) และกระตุ้นทุก 10 ปี
Figure2 Antibody response to tetanus toxoid (TT) Telanus ant.toxin level in lU/ml Interval between doses of tetanus toxoid
Arthus’ Reaction
คนที่ 1 2 3 4 5 6 เด็กเกิด ว/ด/ป 20 พ.ค.51 15 ก.ค. 51 29 ส.ค. 53 3 ก.พ.53 17 ก.ย.51 12 มิ.ย.53 dT1 1 ส.ค.50 15 ม.ค. 48 10 มี.ค. 45 24 ส.ค.43 9 ก.พ.45 16 ธ.ค.34 dT2 30 ต.ค. 50 10 มี.ค. 48 15 เม.ย. 45 25 ก.ย.43 10 มี.ค.45 20 ก.พ.35 dT3 18 ก.ย.45 26 มี.ค.44 15 ก.ย.45 30 ส.ค.36 dT4 22 มี.ค.42
คนที่ 1 2 3 4 5 6 เด็กเกิด ว/ด/ป 20 พ.ค.51 15 ก.ค. 51 29 ส.ค. 53 3 ก.พ.53 17 ก.ย.51 12 มิ.ย.53 dT1 1 ส.ค.50 15 ม.ค. 48 10 มี.ค. 45 24 ส.ค.43 9 ก.พ.45 16 ธ.ค.34 dT2 30 ต.ค. 50 10 มี.ค. 48 15 เม.ย. 45 25 ก.ย.43 10 มี.ค.45 20 ก.พ.35 dT3 18 ก.ย.45 26 มี.ค.44 15 ก.ย.45 30 ส.ค.36 dT4 22 มี.ค.42
พิจารณาข้อมูลแม่ที่มีลูกมากกว่า 1 คน หมายเหตุ แม่คนที่ 3 ได้ dT1 ป.1 2529 และ ป.6 2535 และ 2538 ได้รับ T (บาดแผล)
พิจารณาข้อมูลแม่ที่มีลูกมากกว่า 1 คน 2 2 3 4 3 5 1 2 3 หมายเหตุ แม่คนที่ 3 ได้ dT1 ป.1 2529 และ ป.6 2535 และ 2538 ได้รับ T (บาดแผล)
ก า ร ใ ห้ วั ค ซี นใ น เ ด็ ก นั ก เ รี ย น
นักเรียน ป.1 วัคซีนบีซีจี มีข้อกำหนดในการให้ดังนี้ วัคซีนบีซีจี มีข้อกำหนดในการให้ดังนี้ ถ้าเด็กมีบันทึกประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต ระบุว่าได้รับวัคซีนบีซีจี (สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก หรือทะเบียน/บัญชีเด็ก) ไม่ต้องให้วัคซีนอีก (ถึงแม้จะไม่มีรอยแผลเป็นจากบีซีจี ก็ตาม) หากตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนบีซีจี ในอดีตไม่ได้ แต่เด็กมีรอยแผลเป็นบีซีจี ไม่ต้องให้วัคซีนอีก ถ้าเด็กไม่มีรอยแผลเป็นจากบีซีจี และไม่มีบันทึกว่าได้รับวัคซีนบีซีจี ในอดีตจากสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ต้องฉีดวัคซีนบีซีจี 1 ครั้ง 91
ระยะห่างระหว่างโด๊ส และระยะเวลาที่ป้องกันได้ ในการได้รับวัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก (dT,T) 10 ปี 30 กค.47 อนุฯสร้างเสริม ปรับให้ dT 3 ครั้ง (แม่ที่ไม่เคยได้ DTP dT T ) และกระตุ้นทุก 10 ปี 92
ข้อพิจารณาในการให้ dT /OPV ป.1 จะต้องตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ถ้าไม่มีประวัติหรือประวัติไม่แน่ชัดให้ถือว่าเด็กไม่เคยได้รับวัคซีน เคยได้ DTP/OPV 5 ครั้ง ไม่ต้องให้ dT/OPV เคยได้ DTP/OPV 3 หรือ 4 ครั้ง ให้ dT/OPV อีก 1 ครั้ง เคยได้ DTP/OPV 2 ครั้ง ให้ dT/OPV อีก 1 ครั้ง เคยได้ DTP/OPV 1 ครั้ง - ป.1 ให้ dT/OPV อีก 1 ครั้ง และเมื่อเด็กเรียน ป.2 ติดตาม ให้อีก 1 ครั้ง เด็กไม่เคยได้รับวัคซีน - ป.1 ให้ dT/OPV 2 ครั้ง (ห่าง >1 เดือน.) และเมื่อเด็กเรียน ป.2 ติดตามให้อีก 1 ครั้ง 93
การให้วัคซีนในเด็ก ป.1 ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ปีการศึกษา 2560 การให้วัคซีนในเด็ก ป.1 ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ปีการศึกษา 2560 วัคซีน เกณฑ์ที่ให้วัคซีน BCG ให้ ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับ BCG เมื่อแรกเกิด และไม่มีรอยแผลเป็น (ไม่ให้ในเด็ก HIV ที่มีอาการของเอดส์) HB ให้ ไม่เคยได้รับ : ป.1 ให้ 2 ครั้ง(ห่างกัน > 1ด) ป.2 ให้อีก 1 ครั้ง ได้มา 1 ครั้ง : ป.1 ให้ 1 ครั้ง ป.2 ให้อีก 1 ครั้ง ได้มา 2 ครั้ง : ป.1 ให้ 1 ครั้ง dT/OPV ให้ ถ้าได้ไม่ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์เดิม
การให้วัคซีนในเด็ก ป.1 ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ปีการศึกษา 2560 การให้วัคซีนในเด็ก ป.1 ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ ปีการศึกษา 2560 วัคซีน เกณฑ์ที่ให้วัคซีน IPV ให้ IPV 1 ครั้ง พร้อม OPV ในกรณี ได้ tOPV น้อยกว่า 3 ครั้ง และไม่เคยได้ IPV ได้ IPV 1 ครั้ง เมื่ออายุน้อยกว่า 4 เดือน MMR/MR ให้ ไม่เคยได้รับ : ให้ 1 ครั้ง ได้มา 1 ครั้ง : ให้ 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งสุดท้าย > 1 ด)
การให้วัคซีน JE ในเด็ก ป เกณฑ์ที่ให้วัคซีน ไม่เคยได้รับ ให้ : ป.1 ให้ 1 ครั้ง ป.2 ให้อีก 1 ครั้ง (ห่างกัน > 12 ด) ได้ เชื้อตายมา 1 ครั้ง ได้ เชื้อตายมา 2 ครั้ง ให้ : ป.1 ให้ 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งสุดท้าย > 12 ด) ได้ เชื้อตายมา 3 ครั้ง ไม่ต้องให้ ได้ เชื้อเป็นมา 1 ครั้ง ได้ เชื้อเป็นมา 2 ครั้ง
บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า