สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สัปดาห์ที่ ๑๔ เคมีอินทรีย์ Organic Chemistry.
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สมบัติของสารและการจำแนก
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ผู้สอน ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ครูปฏิการ นาครอด.
กรด-เบส Acid & BASE.
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
แผ่นดินไหว.
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หมู่ฟังก์ชัน.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
ความเข้มข้นของสารละลาย
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
Structure of Flowering Plant
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
ชีวโมเลกุล.
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่ เคมีอินทรีย์ สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่ Alcohol Ether Aldehyde Ketone Carboxylic Ester

Aldehyde & Ketone สูตรทั่วไป Aldehyde Ketone เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone สูตรทั่วไป Aldehyde Ketone Aldehyde และ Ketone ต่างเป็นสารประกอบคาร์บอนิลที่มีขั้ว สภาพมีขั้วของโมเลกุล จึงทำให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างขั้วได้ Aldehyde และ Ketone มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงกว่า Hydrocarbon แต่ต่ำกว่า Alcohol และ Carboxylic acid Aldehyde และ Ketone ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก (C1-C5) จะละลายน้ำได้

เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone ที่อุณหภูมิห้อง Aldehyde มี 3 สถานะ คือ ก๊าซ ของเหลว และของแข็ง แต่ Ketone มีสถานะเป็นของเหลว Aldehyde ที่มีคาร์บอนน้อยๆ มักมีกลิ่นฉุน ส่วน Aldehyde ที่มีคาร์บอนมากๆ มักมีกลิ่นหอม Ketone มีกลิ่นจางๆ ไม่แรงเท่า Aldehyde ยกเว้น Acetone

Aldehyde & Ketone สมบัติของ Aldehyde และ Ketone เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone สมบัติของ Aldehyde และ Ketone จุดเดือดของแอลดีไฮด์ และคีโตนเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่เพิ่มขึ้น

Aldehyde & Ketone สมบัติของ Aldehyde และ Ketone เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone สมบัติของ Aldehyde และ Ketone จุดเดือดของแอลดีไฮด์ และคีโตนเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่เพิ่มขึ้น

Aldehyde & Ketone Methanal หรือ Formaldehyde (HCHO) เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone Methanal หรือ Formaldehyde (HCHO) การเตรียม สามารถเตรียมได้จาก Methanol ดังปฏิกิริยาต่อไปนี้ Formaldehyde เมื่อละลายน้ำ จะได้สารละลายที่เรียกว่า “Formalin” ซึ่งมี Formaldehyde อยู่ 40% Formalin ใช้ในการดองพืช และสัตว์ ฆ่าเชื้อเครื่องมือผ่าตัด ใช้ฉีดศพเพื่อรักษาสภาพไม่ให้เน่าเปื่อย

Aldehyde & Ketone แอลดีไฮด์ในธรรมชาติ เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone แอลดีไฮด์ในธรรมชาติ ส่วนใหญ่ใช้เป็นน้ำมันหอมระเหย และสารที่มีกลิ่นหอม มักพบในผลไม้ หรือพืชต่างๆ

Aldehyde & Ketone Propanone หรือ Acetone (CH3COCH3) เคมีอินทรีย์ Aldehyde & Ketone Propanone หรือ Acetone (CH3COCH3) เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด 56oC ไม่มีสี มีกลิ่นอ่อนๆ ระเหยง่าย และละลายน้ำได้ดี นิยมใช้เป็นตัวทำละลาย เช่น น้ำมันเงา แลกเกอร์ ไฟเบอร์ และพลาสติก การบูร เป็นคีโตนที่ได้จากต้นการบูร ใช้เป็นสารไล่แมลง และเป็นส่วนผสมของยาดม

Carboxylic acid สูตรทั่วไป R-COOH สูตรโมเลกุล CnH2nO2 ; n>1 เคมีอินทรีย์ Carboxylic acid สูตรทั่วไป R-COOH สูตรโมเลกุล CnH2nO2 ; n>1 เป็นพันธะโคเวเลนต์ ละลายน้ำได้ เพราะมีขั้ว แต่ละลายได้ดี เพียง 4 ตัวแรก แต่ถ้าจำนวนคาร์บอนมากขึ้นความสามารถในการละลายน้ำจะลดลง เมื่อละลายเป็นสารละลายแล้วส่วนใหญ่จะยังอยู่ในรูปโมเลกุล จึงไม่สามารถนำไฟฟ้าได้ แต่มีบางส่วนแตกตัวเป็นไอออน จึงสามารถ นำไฟฟ้าได้

เคมีอินทรีย์ Carboxylic acid จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง (สูงกว่าไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลเท่ากัน) เพราะเป็นพันธะไฮโดรเจน และจุดเดือดจะสูงขึ้น ถ้ามวลมากขึ้น แสดงสมบัติเป็นกรด (เพราะเมื่อเกิดปฏิกิริยาจะจ่าย H+ ให้กับสารอื่น) จึงเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงิน เป็นสีแดง สามารถทำปฏิกิริยา Esterification กับ Alcohol ได้ Ester Carboxylic acid ที่มวลโมเลกุลน้อยๆ เช่น HCOOH, CH3COOH มักมีกลิ่นฉุน

Carboxylic acid จุดเดือด และสภาพการละลายที่ 20oC ของกรดอินทรีย์บางชนิด เคมีอินทรีย์ Carboxylic acid จุดเดือด และสภาพการละลายที่ 20oC ของกรดอินทรีย์บางชนิด

Carboxylic acid สภาพขั้ว และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของกรดอินทรีย์ เคมีอินทรีย์ Carboxylic acid สภาพขั้ว และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของกรดอินทรีย์

Carboxylic acid พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของกรดอินทรีย์ และแอลกอฮอล์ เคมีอินทรีย์ Carboxylic acid พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของกรดอินทรีย์ และแอลกอฮอล์

การอ่านชื่อ Carboxylic acid เคมีอินทรีย์ การอ่านชื่อ Carboxylic acid ระบบชื่อสามัญ มักเรียกตามแหล่งที่มา ลงท้ายด้วย -ic acid บอกตำแหน่งหมู่แทนที่ด้วย α-, β-, γ- กรดแอลฟาไฮดรอกซี มีโครงสร้างดังนี้ กรดเบตาไฮดรอกซี มีโครงสร้างดังนี้

การอ่านชื่อ Carboxylic acid เคมีอินทรีย์ การอ่านชื่อ Carboxylic acid ตัวอย่างการอ่านชื่อระบบสามัญ