อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
TCP/IP.
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องกำหนด โปรโตคอลที่ต้องการใช้ในเครือข่าย ครูปนัดดา กองมนต์ รายวิชา อินเทอร์เน็ตและการสร้างเว็บ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
Entity-Relationship Model E-R Model
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
โปรโตคอล Protocol คือข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น.
OSI 7 LAYER.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
OSI Network Layer TCP/IP Internet Layer วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
พัฒนาการสื่อใหม่ ( เวปไซต์และสังคมออนไลน์ ). เวปไซต์คือ ?
ครูสุนทร ยี่สุ้น จบการศึกษา : วิศวคอมพิวเตอร์ Website : 1.
การสื่อสารข้อมูล.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Case Study.
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
Chapter 2 สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture)
แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 6 : Firewall Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networking)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 2 แบบจำลองเครือข่าย
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
Open system Protocol concept TCP/IP TCP/IP Sub Protocol
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

แบบจำลองอินเทอร์เน็ต (Internet Model) ชั้นสื่อสารฟิสิคัลและดาต้าลิงก์ (Physical and Data Link Layer) ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ค (Network Layer) ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer) การระบุตำแหน่ง (Addressing)

แบบจำลองอินเทอร์เน็ต (Internet Model) แบบจำลองอินเทอร์เน็ตหรือชุดโปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) ถูกพัฒนามาก่อนแบบจำลอง OSI แต่มีการทำงานที่ใกล้เคียงกันมาก เป็น โปรโตคอลหลักบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ต้นฉบับของแบบจำลองอินเทอร์เน็ต ประกอบไป ด้วย 4 ชั้นสื่อสาร 1) ชั้นสื่อสารโฮสต์ทูเน็ตเวิร์ค (Host-to-Network Layer) 2) ชั้นสื่อสารอินเทอร์เน็ต (Internet Layer) 3) ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) 4) ชั้นสื่อสารแอพพลิเคชั่น (Application Layer)

เปรียบเทียบแบบจำลอง OSI กับแบบจำลองอินเทอร์เน็ต 7. Application 4. Application 5. Application 6. Presentation 5. Session 4. Transport 3. Transport 3. Network 2. Internet 2. Data Link 1. Host-to-Network 1. Physical OSI Model Internet Model (Four-Layers View) (Five-Layers View)

Note ชั้นสื่อสารบนแบบจำลองอินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาขึ้นด้วย มุมมองที่แตกต่างกัน แต่ ปัจจุบันมีความชัดเจนมากขึ้นและได้กำหนดให้มุมมองของ แบบจำลองอินเทอร์เน็ต แบ่งออกเป็น 5 ชั้นสื่อสาร (Five-Layers View) แต่บริษัทไมโครซอฟต์จะอ้างอิงแบบจำลองอินเทอร์เน็ตใน มุมมองแบบ 4 ชั้นสื่อสาร (Four-Layers View)

เปรียบเทียบแบบจำลอง OSI กับแบบจำลองอินเทอร์เน็ตด้านรายละเอียดของโปรโตคอล

ชั้นสื่อสารฟิสิคัลและดาต้าลิงก์ (Physical and Data Link Layer) TCP/IP ไม่ได้กำหนดโปรโตคอลเฉพาะเจาะจงลงไป ในชั้นนี้ แต่จะสนับสนุนโปรโตคอลมาตรฐานทั้งหมด บนชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ เช่น Ethernet, Token Ring จึงมีเครือข่ายหลายประเภทที่สามารถสื่อสารกับ โปรโตคอล TCP/IP ได้ โปรโตคอล TCP/IP ที่ใช้งานบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตจึงสามารถนำมาเชื่อมต่อกับเครือข่าย LAN MAN WAN ได้

การ Encapsulate ของชุดโปรโตคอล TCP/IP

ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer) ทำหน้าที่เลือกเส้นทางเพื่อจัดส่งข้อมูลในรูปแบบ ของแพ็กเก็ต โดยใช้อัลกอริทึมในการกำหนด เส้นทาง (Routing Algorithms) ที่เหมาะสมเพื่อส่ง ข้อมูลไปยังปลายทาง โปรโตคอลที่สำคัญในชั้นนี้คือ IP (Internet Protocol) นอกจากนี้ยังมีโปรโตคอล ARP, RARP, ICMP และ IGMP แต่ชั้นนี้ไม่ได้รับประกันว่าข้อมูลจะถูกส่งไปถึง ปลายทางได้ 100% จึงต้องมีชั้น ทรานสปอร์ตทำ หน้าที่นี้แทน

ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) แต่เดิมชั้นสื่อสารทรานสปอร์ตบนแบบจำลอง อินเทอร์เน็ตมีโปรโตคอลอยู่ 2 ตัวรับผิดชอบเกี่ยวกับ การส่งข้อมูลแบบ Process-to-Process คือ TCP (Transmission Control Protocol) UDP (User Datagram Protocol) แต่มีโปรโตคอลใหม่คือ SCTP (Stream Control Transmission Protocol) เพื่อสนับสนันการรับส่ง ข้อมูลแบบ Streaming

ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) : TCP TCP (Transmission Control Protocol) เป็น โปรโตคอลแบบคอนเน็คชั่น โอเรียนเต็ด (Connection Oriented) ที่มีการรับประกันการส่ง ข้อมูล ถึงปลายทาง ก่อนส่งจะมีการ สร้างคอนเน็คชันก่อนเพื่อยอมรับข้อกำหนด ในการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นความเร็วหรือแบนด์วิดธ์ ในการส่งข้อมูล มีการสร้างเส้นทางขึ้นมาในการลำเลียงข้อมูล จะ ยุติการเชื่อมต่อเมื่อได้รับข้อมูลเสร็จสมบูรณ์แล้ว มี กลไกในการตรวจสอบข้อมูลที่ส่งไปว่าถึงมือผู้รับ หรือไม่ หากแพ็คเก็ตสูญหายระหว่างทางจะมี กระบวนการส่งแพ็คเก็ตรอบใหม่

SYN – Synchronize ACK - Acknowledge

ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) : UDP UDP (User Datagram Protocol) เป็นโปรโตคอลแบบคอนเน็กชั่นเลส (Connectionless) ที่ทำงานตรงข้ามกับโปรโตคอล TCP คือจะไม่มีการสร้างคอนเน็คชั่น แต่จะส่ง ข้อมูลทันทีที่ต้องการ โดยคาดหวังว่าข้อมูลที่ส่งไป นี้คงไปถึงปลายทางได้

ขั้นตอนการส่งข้อมูลของโปรโตคอล UDP Sender Reciever Take this data! I hope it gets there!

ตัวอย่างหมายเลขพอร์ตและโปรโตคอลที่บริการในแต่ละพอร์ต

ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer) ให้บริการที่มุ่งเน้นการอำนวยความสะดวกให้กับ ผู้ใช้ด้วยโปรโตคอลต่างๆในรูปของโปรแกรม แอปพลิเคชั่น ทำให้ผู้ใช้สามารถส่งไฟล์ อีเมล์ หรือบริการอื่นๆได้ เช่น การส่งไฟล์จะใช้บริการโปรโตคอล FTP (File Transfer Protocol) การส่งเมล์จะใช้บริการโปรโตคอล SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) การท่องเว็บทั่วไปจะใช้บริการโปรโตคอล HTTP (HyperText Transfer Protocol)

Addressing คือการระบุตำแหน่งที่อยู่ของอุปกรณ์ต่างๆ โปรโตคอล TCP/IP มีการใช้ Address อยู่ 4 แบบ คือ

ความสัมพันธ์ของแต่ละเลเยอร์กับแอดเดรสในโปรโตคอล TCP/IP

Physical Address (MAC Address) 07:01:02:01:2C:4B A 6-byte (12 hexadecimal digits) physical address.

Logical Address (IP Address) IP/MAC

A 16-bit port address represented one single number. 753 A 16-bit port address represented one single number. 753 753