บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ชีววิทยา เล่ม 2 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี เนื้อหาสาระ 1. การรับรู้และการตอบสนอง 2. เซลล์ประสาท 3. การทำงานของเซลล์ประสาท 4. ศูนย์ควบคุมระบบประสาท 5. การทำงานของระบบประสาท 6. อวัยวะรับความรู้สึก 7. คำถามท้ายบทที่ 8 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ขณะที่กิ้งกือเคลื่อนที่ไปตามพื้นดิน หากนำกิ่งไม้ไปสัมผัสกิ้งกือ จะหยุดเคลื่อนที่ที่และม้วนลำตัวดังภาพแสดงว่ากิ้งกือสามารถรับรู้ ต่อสิ่งเร้าซึ่งเป็นกิ่งไม้ที่มาสัมผัส แล้วสามารถตอบสนองด้วยการ ม้วนลำตัวให้เป็นวงกลม การตอบสนองต่อสิ่งเร้าดังกล่าวนี้ นักเรียนคิดว่าเกิดจากการทำงานของระบบใดภายในร่างกาย และระบบดังกล่าวทำให้สัตว์เกิดการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ อย่างไร นักเรียนจะศึกษาจากบทเรียนต่อไปนี้ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
8.1 การรับรู้และการตอบสนอง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี นักเรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่า ขณะที่อากาศภายนอกร้อนจัด ร่างกายจะขับเหงื่อออกมามาก แต่เมื่อเข้าไปในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ จะรู้สึกเย็นสบายและมีเหงื่อออกน้อยลง แสดงว่าร่างกายมีระบบรับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและถ่ายถอดการรับรู้ไปยังหน่วยแปลความรู้สึก พร้อมทั้งออกคำสั่งให้หน่วยปฏิบัติงานทำงาน ดังภาพ 8-1 คำถามนำ สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
8.1 การรับรู้และการตอบสนอง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี โดยปกติการทำงานของสัตว์จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ท่อ ระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดเร็ว เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว ขณะที่ระบบต่อมไรท่อจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดช้ากว่า แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผลต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การเจริญของเซลล์ไข่ในรังไข่ เป็นต้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าทั้ง 2 ระบบจะทำงานแตกต่างกันแต่ก็ทำงานสัมพันธ์กัน เมื่อนักเรียนเห็นสุนัขทำท่าดุร้าย แยกเขี้ยวอยู่ตรงหน้า หัวใจจะเต้นเร็วด้วยควายกลัวแล้ววิ่งหนทันที กรณีเช่นนี้ สิ่งเร้าคืออะไร มีหน่อยรับความรู้สึกอยู่ที่ใด หน่วยแปลความรู้สึกคืออะไร และหน่วยปฏิบัติงานอยู่ที่ใด คำถามเหล่านี้ชวนให้ค้นหาคำตอบและสิ่งที่หน้าสงสัยต่อไปนี้คือ สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีการรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร นักเรียนจะได้ศึกษาจากหัวข้อต่อไปนี้ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.1 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น พารามีเซียมสามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีแสงสว่าง อุณหภูมิ หรือสารเคมีได้ แสดงว่าสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ ต่อเนื่องจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไม่มีเซลล์ประสาท สิ่งที่น่าสงสัยคือ สิ่งมีชีวิตดังกล่าวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร จากการศึกษาพบว่าใต้ผิวของพารามีเซียมมีเส้นใยเชื่อมโยงระหว่างโคนซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber) ดังภาพที่ 8-2 คำถามนำ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ที่ไม่มีระบบประสาทสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้หรือไม่ และสัตว์ที่มีระบบประสาทมีวิธีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.1 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี คำถาม ? ถ้าตัดเส้นใยประสานงานของพารามีเซียมออก พบว่าพารามีเซียมไม่สามารถควบคุมการพัดโบกของซิเลียได้ นักเรียนจะสรุปหน้าที่ของเส้นใยประสานงานนี้อย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.2 การตอบสนองของ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังก็เช่นกันที่มีการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้า จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่าสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีการรับรู้และการตอบสนองที่แตกต่างกันนักเรียนจะศึกษาดังต่อไปนี้ ฟองน้ำ เซลล์แต่ละเซลล์ของฟองน้ำมีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์ ไฮดรามีร่างแหประสาท(nerve net) ประกอบด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกันดังภาพที่ 8-3 เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะกระแสประสาทเคลื่อนที่ไปตามเซลล์ประสาทที่สานกันเป็นร่างแห จากจุดและตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นได้ประสาทเคลื่อนที่ไปตามเซลล์ประสาทที่สานกันเป็นร่างแห จากจุดและตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นได้ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.2 การตอบสนองของ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี คำถาม ? ถ้าใช้เข็มแตะที่ปลายเทนทาเคิลของไฮดราจะเกิดอะไรขึ้นนักเรียนจะอธิบายผลการทดลองนี้อย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.2 การตอบสนองของ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง พลานาเรีย เซลล์จะรวมตัวเป็นกลุ่ม โดยเฉพาะที่บริเวณหัวเรียกกลุ่มของเซลล์ประสาทเหล่านี้ว่า ปมประสาท (nerveganglion) อาจเรียกว่า สมอง (brain) มี เส้นประสาทใหญ่ (nerve cord)ขนานไปตามด้านข้างของลำตัวจากหัวจรดท้ายลักษณะแบบขั้นบันได (ladder type) เส้นประสาทดังกล่าวเชื่อมโยงติดกันด้วยเส้นประสาทที่วนรอบลำตัว วงแหวนประสาท (nerve ring) ดังภาพที่ 8-4 ก ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลง มีปมประสาทขนาดใหญ่ขึ้น ทำหน้าที่เป็นสมองอยู่ด้านหัว นอกจากนี้ยังมีปมประสาทตามป้องของลำตัว และมีเส้นประสาทเชื่อมต่อปมประสาทที่มีอยู่ตามปล้อง แมลงมีปมประสาทหลายปมเรียงตัวตามแนวยาวของลำตัวทางด้านท้อง ดังภาพที่ 8-4 ข.และ ค ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.2 การตอบสนองของ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี คำถาม ? การรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าของไฮดรากับพลานาเรียแตกต่างกันอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี คำถาม ? พลานาเรีย ไส้เดือนดินกับแมลงมีการรับรู้และตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าแตกต่างกันอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.1.3การตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คนและสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีระบบประสาทพัฒนามาก เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดรวมกันอยู่ที่ส่วนหัว ซึ่งมีขนานใหญ่และเจริญมาก มีการพัฒนาไปเป็นสมอง ส่วนที่ทอดยาวตาลำตัวทางด้านหลังเรียกว่า ไขสันหลัง (spinal cord) สมองและไขสันหลังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของระบบประสาท โดยมีเส้นประสาแยกออกมาจากสมองและไขสันหลัง ดังภาพที่ 8-5 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.2 เซลล์ประสาท ร่างกายคนมีเซลล์ประสาท (nerve cell) หรือนิวรอน (neuron) จำนวนมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และการตอบสนอง แต่ละเซลล์อาจมีการเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับเซลล์ประสาทอื่นเป็นพันๆ เซลล์ สามารถทำงานเกี่ยวกับการรับส่งสัญญาณ ระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับภายในร่างกายได้อย่างมีระบบ คำถามนำ เซลล์ประสาทของคนมีโครงสร้างของเซลล์เหมาะสมต่อการทำหน้าที่อย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.2 เซลล์ประสาท ส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ประสาทมี 2 ส่วนคือตัวเซลล์ (cell body) มีรูปร่างหลายแบบ เช่น กลม รี หรือเป็นเหลี่ยม ตัวเซลล์เป็นส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียส มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ที่สำคัญ คือ ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมและกอลจิคอมเพล็กซ์ จำนวนมากใยประสาท (nerve fiber) เป็นส่วนของเซลล์ที่ยื่นออกมาจากตัวเซลล์มีลักษณะเป็นแขนงเล็กๆ ใยประสาทที่นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์เรียกว่า เดนไดรต์ (dendrite) ใยประสาทที่นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ เรียกว่า แอกซอน (axon)เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์จะมี เดนไดรต์แยกออกจากตัวเซลล์หนึ่งใยหรือหลายใย ส่วนแอกซอนมีเพียงใยเดียวเท่านั้นดังภาพที่ 8-6 และ 8-8 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.2 เซลล์ประสาท ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี คำถาม ? รูปร่างของเซลล์ประสาทมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างจากเซลล์อื่นๆของร่างกายอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี คำถาม ? รูปร่างของเซลล์ประสาทเหมาะสมกับหน้าที่การทำงานอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.2 เซลล์ประสาท กรณีที่เส้นใยยาว ซึ่งมักเป็นเส้นใยประสาทของแอกซอนจะมีเยื่อไมอีลิน (myelin sheath) มาหุ้มเส้นใยประสาท เยื่อไมอีลินมีสารจำพวกพิลิดเป็นองค์ประกอบเมื่อตรวจดูภาคตัดขวางของเยื่อไมอีลินด้วยกล้องจุลทรรศน์อีเล็กตรอนพบว่า เยื่อไมอีลินติดต่อกับเซลล์วันน์(Schwann cell) ซึ่งเซลล์ค้ำจุนชนิดหนึ่ง แสดงว่าเยื่อไมอีลินเป็นส่วนหนึ่งของเยื่อหุ้มเซลล์วันน์ ส่วนของแอกซอนตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเซลล์วันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มเรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์ (node of Ranvier) ดังภาพที่ 8-7 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.2 เซลล์ประสาท ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.2 เซลล์ประสาท ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง นักเรียนจะเขียนแผนผังแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจากการทดลองครั้งนี้อย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังที่กล่าวมาแล้วนี้จัดอยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system; CNS) นักเรียนสงสัยหรือไม่ว่า นอกจากระบบประสาทส่วนกลางแล้วยังมีระบบประสาทใดเกี่ยวข้องกันอีกบ้าง เมื่อศึกษาโครงสร้างของสมองและไขสันหลังพบว่าทั้งสองส่วนนี้จะมีเส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลังแยกออกมาเป็นคู่ๆ เพื่อรับสัญญาณความรู้สึกปละออกคำสั่งควบคุมหน่วยปฏิบัติงาน ดังภาพที่ 8-25 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง เส้นประสาทสมองคู่ใดบ้างเป็นเส้นประสาทรับความรู้สึก คู่ใดบ้างเป็นเส้นประสาทสั่งการ และคู่ใดบ้างเป็นเส้นประสาทผสม ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง ขณะอ่านหนังสือ เส้นประสาท สมองคู่ใดบ้างที่ทำงานเกี่ยวข้องโดยตรง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง การรับรสอาหารเป็นหน้าที่ของเส้นประสาทสมองคู่ใด ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง เมื่อศึกษาโครงสร้างของไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลังของคนพบว่าที่ปมประสาทรากบน (dorsal root ganglion) มีเซลล์ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก ทำหน้าที่รับกระเเสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก ส่งมาตามแอกซอน ยื่นเข้าในรากบนเข้าสู่ไขสันหลัง ขณะที่รากล่างประกอบด้วยแอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการ มีตัวเซลล์อยู่ในเนื้อสีเทาบริเวณเวนทรัลฮอร์นของไขสันหลัง ทำหน้าที่ส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง นอกจากนี้ยังมีเซลล์ประสาทประสานงาน ทำหน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทรับความรู้สึกไปยังเซลล์ประสาทประสานงานทำหน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทไปให้เซลล์ประสาทสมองจะมีแอกซอนเข้าไปในสมอง ดังภาพที่ 8-26 เส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลังที่กล่าวมาแล้วนี้จัดอยู่ในระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system; PNS) ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง จากความรู้ดังกล่าว นักเรียนสามารถอธิบายได้หรือไม่ว่าไขสันหลังมีหน้าที่และความสำคัญอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง ถ้าหากเซลล์ประสาทสั่งการในไขสันหลังถูกทำลายจะมีผลต่อร่างกายอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง นักเรียนคิดว่าเส้นประสาทไขสันหลังเป็นเส้นประสาทรับความรู้สึกหรือเส้นประสาทสั่งการหรือเส้นประสาทผสม ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.4.2 ไขสันหลัง นักเรียนได้ศึกษามาแล้วว่าระบบประสาทรอบนอกของสัตว์มีกระดูกสันหลังประกอบด้วย เส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลัง นักเรียนคิดว่าเส้นประสาทไขสันหลังควบคุมการทำงานของร่างกายได้อย่างไร นักเรียนจะได้ศึกษาต่อไปนี้ คำถามนำ ร่างกายมีกลไกลตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายในแตกต่างกันอย่างไร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
8.5การทำงานของระบบประสาท ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถแบ่งได้เป็น 2ระบบคือ ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง และระบบประสาทรอบนอก ได้แก่ ส่วนต่างๆของระบบประสาทที่อยู่นอกสมองและไขสันหลัง ได้แก่ เส้นประสาทและปมประสาท การทำงานของเส้นประสาทในระบบประสาทรอบนอกแบ่งออกเป็น 2ส่วน คือ ส่วนที่รับความรู้สึก (sensory division) ซึ่งรับความรู้สึกจากภายนอกและภายในร่างกาย และส่วนที่สั่งการ (motor division) ถ้าการสั่งการเกิดขึ้นกับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ เช่น กล้ามเนื้อโครงร่างก็จัดเป็นระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system; SNS) ถ้าการสั่งการนั้นเกิดกบหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้ เช่น อวัยวะภายในและต่อมต่างๆก็จัดเป็นระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic nervous system; ANS) โดยระบบประสาทอัตโนมัตินี้ยังแบ่งเป็น 2 ระบบย่อย ได้แก่ ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) และ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) ดังภาพที่ 8-27 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
8.5การทำงานของระบบประสาท ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 8.5.1ระบบประสาทโซมาติก 124 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.2 หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.2 หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.3 หลักฐานจากวิทยาเอ็มบริโอเปรียบเทียบ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.3 หลักฐานจากวิทยาเอ็มบริโอเปรียบเทียบ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.4 หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.4 หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.4 หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.5 หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.1.5 หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
18.2
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ค ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ค ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ค ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.3 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของอัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.2.4 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของเอินส์ เมียร์ ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี สรุปแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี สรุปแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี สรุปแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี สรุปแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี สรุปแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วิน ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
18.3 พันธุศาสตร์ประชากร
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3 ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3.1 การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3.1 การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3.1 การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3.1 การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3.2 กฏของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี 18.3.3 การประยุกต์ใช้กฏของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
18.4 ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถึ่ของแอลลีล
18.5 กำเนิดของสปีชีส์