อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Please help me. I want to go home. The wicked wizard won’t let me go if I can’t find the error in each following sentence.
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
Data Transmission Encoding Techniques and Transmission mode
Data Link Control Line discipline, Flow Control, Error Control
บทที่ 5-2 วิธีการตรวจสอบและลดข้อผิดพลาดในการสื่อสารข้อมูล
Digital Data Communication Technique
Data Link Layer.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
ICT+ Introduction to Networks ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห์
Flow Control.
Menu and Interactive with Powerpoint ให้นำเรื่อง Input /Output Technology มา จัดทำ การนำเสนอ โดยใช้หลักการ Menu and Interactive with powerpoint มาประยุกต์
ERROR (Data Link Layer)
Week 11: Chapter 25: UDP Chapter 26: TCP
Question Tag MRS.NITTAYA PROMJAN UDOMDARUNEE SCHOOL.
05/04/60 3 Copyrights by Ranet Co.,Ltd. All rights reserved.
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
OSI 7 LAYER.
Lab 05 : Microsoft PowerPoint 2013 Part 1 ทพ 491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
Image Enhancement and Restoration
บทที่ 3 : การป้องกันการเจาะระบบ Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
Mobile Network/Transport Layers
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
CAD/CAM/CAE/CNC กับอุตสาหกรรมการผลิต
บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part1) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
บทที่ 7 : การป้องกันไวรัส Part2 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
การแสดงขั้นตอนวิธีด้วยรหัสเทียม (Pseudo-Code)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft PowerPoint Part 2 ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
RIHES-DDD TB Infection control
การแก้ไขข้อบกพร่องระบบ GMP จากการตรวจรับรองโรงงานเพื่อการส่งออก วันที่
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
สัญลักษณ์.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : Cryptography & Steganography Part3 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
N I T DATA. N I T DATA Data Link Layer Flow Control 1. Stop-and-Wait Flow Control 2. Sliding-Window Flow Control.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part3 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
หลักเกณฑ์ในการตั้งตัวแทน
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Microsoft PowerPoint 2013 Part 2
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part1) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
จิตสำนึกคุณภาพ.
การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
โรงพยาบาลดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part2 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
Analog vs. Digital Analog Digital
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline การควบคุมข้อผิดพลาด (Error Control) การแก้ไขข้อผิดพลาดโดยการส่งข้อมูลซ้ำ (Error Correction via Retransmission)

การควบคุมข้อผิดพลาด เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบข้อผิดพลาด และจะต้องทำอย่างไรบ้างเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น เพื่อแสดงความมั่นใจได้ว่าเฟรมทั้งหมดที่ส่งไปยัง ปลายทางจะปราศจากข้อผิดพลาดใดๆ

การควบคุมข้อผิดพลาด : การดำเนินการกับข้อผิดพลาด เมื่อฝั่งรับตรวจพบข้อผิดพลาดจากข้อมูลที่ส่งมา จะมี การดำเนินการใน 3 กรณี คือ 1) ไม่ดำเนินการใดๆ (Do Nothing) จะละทิ้งเฟรม ที่ผิดพลาดไป ปล่อยให้ชั้นสื่อสารที่อยู่เหนือขึ้นไป จัดการแทน 2) แจ้งข่าวสารกลับไปบอกให้ฝั่งส่งทราบ (Return a Message) เพื่อให้ฝั่งส่งส่งข้อมูลที่ เสียหายมาใหม่ 3) ตรวจแก้ข้อผิดพลาด (Correct the Error) จะ ดำเนินการแก้ไขข้อผิดพลาดที่ฝั่งรับเอง ซึ่งเป็น วิธีการที่ซับซ้อนกว่าวิธีทั้งหมดที่กล่าวมา

การควบคุมข้อผิดพลาด : ชนิดของข้อผิดพลาด 1. เฟรมสูญหาย (Lost Frame) อาจเกิดจาก สัญญาณรบกวนแบบชั่วขณะ (Noise Burst) จน ทำให้ฝั่งรับไม่สามารถตีความได้หรือไม่ทราบว่า เฟรมนั้นได้ส่งมาถึงตน 2. เฟรมชำรุด (Damage Frame) คือเฟรมที่ได้มา ถึงปลายทาง แต่บิตข้อมูลบางส่วนเกิดการ เปลี่ยนแปลงระหว่างส่ง

การควบคุมข้อผิดพลาด : เทคนิคการควบคุมข้อผิดพลาด การตรวจจับข้อผิดพลาด ฝั่งรับจะนำเฟรมที่ได้รับมา ตรวจจับข้อผิดพลาด ซึ่งได้กล่าวรายละเอียดเอาไว้ใน การเรียนครั้งที่ผ่านมา การตอบรับ ACK ปลายทางจะตอบรับ ACK (Positive Acknowledgement) เมื่อได้รับข้อมูลที่ สมบูรณ์ปราศจากข้อผิดพลาด การส่งข้อมูลรอบใหม่หลังจากรอจนหมดเวลา (Timeout) ฝั่งส่งจะส่งข้อมูลรอบใหม่ทันที ในกรณีที่ ปลายทางไมได้ตอบรับภายในเวลาที่กำหนด การตอบรับ NAK และการส่งข้อมูลรอบใหม่ : ปลายทางมีการตอบรับ NAK (Negative Acknowledgement) ในกรณีที่เฟรมที่ส่งมาเกิด ข้อผิดพลาด และให้ฝั่งส่งดำเนินการส่งข้อมูลมาใหม่

การแก้ไขข้อผิดพลาดโดยการส่งข้อมูลซ้ำ (Error Correction via Retransmission) เมื่อมีการตรวจพบข้อผิดพลาด วิธีที่ง่ายและใช้ ต้นทุนต่ำในการแก้ไขปัญหานี้คือการส่งข้อมูลซ้ำ เมื่อฝั่งรับตรวจพบข้อผิดพลาด จะส่งข้อความ NAK เพื่อให้ฝั่งส่งจัดส่งเฟรมมาใหม่ในรอบถัดไป เรียกกระบวนการแบบนี้ว่า “การร้องขอเพื่อส่ง ข้อมูลซ้ำอัตโนมัติ” (Automatic Repeat Request : ARQ) มี 2 วิธีหลักๆ คือ Stop-and-Wait ARQ Continuous ARQ

การแก้ไขข้อผิดพลาดโดยการส่งข้อมูลซ้ำ : Stop-and-Wait ARQ มีกระบวนการทำงานอย่างง่าย จัดอยู่ในโปรโตคอล ประเภท Stop & Wait หากฝั่งรับได้รับข้อมูลจากฝั่งส่งสมบูรณ์แล้ว ก็จะ ตอบกลับด้วยข้อความ ACK แต่ถ้าหากข้อมูลเกิด ข้อผิดพลาดก็จะตอบกลับด้วย NAK หรือ REJ (Reject) กลับไป หากฝั่งรับได้รับ ACK ก็จะส่งเฟรมในลำดับถัดไป แต่ถ้าได้รับ NAK หรือ REJ ก็จะส่งเฟรมที่ เสียหายกลับไปใหม่ ข้อดีคือกระบวนการทำงานง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ข้อเสียคือเกิดการหน่วงเวลา (Delay) สูง

Stop-and-Wait ARQ ในรูปแบบอย่างง่าย

Stop-and-Wait กรณีที่ไม่มีการส่ง ACK, NAK กลับมา

การแก้ไขข้อผิดพลาดโดยการส่งข้อมูลซ้ำ : Continuous ARQ จัดอยู่ในโปรโตคอลประเภท Sliding Window มีประสิทธิภาพสูงกว่า Stop-and-Wait มี 2 วิธีย่อย คือ Go-Back-N ARQ Selective-Reject ARQ

การแก้ไขข้อผิดพลาดโดยการส่งข้อมูลซ้ำ : Continuous ARQ -> Go-Back-N ARQ

Go-Back-N Example

การแก้ไขข้อผิดพลาดโดยการส่งข้อมูลซ้ำ : Continuous ARQ -> Selective-Reject ARQ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ Selective-Repeat ARQ คล้ายกับ Go-Back-N แต่มีประสิทธิภาพเหนือกว่า กล่าวคือฝั่งส่งจะส่งเฉพาะข้อมูลที่ผิดพลาดกลับไป เท่านั้น ส่วนเฟรมที่จะส่งในลำดับถัดไป สามารถ เริ่มต้นถัดจากเฟรมที่ส่งไปก่อนหน้าได้ทันที

ตัวอย่างกระบวนการทำงานของ Selective-Reject ARQ