แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

ผศ.ดร.ศิรภัสสร วงศ์ทองดี
Supreeya Wongtra-ngan, MD.,MHPEd. What is EDUCATION? Education is a process, the chief goal of which is to bring about change in human behavior.
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
หลักการจัดการเรียนการสอน
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม. Heart ประเด็นการนำเสนอ  1. นิยามศัพท์  2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ  3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ  4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
จิตวิทยาการเรียนรู้.
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer’s Decision Making)
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
วิเคราะห์โรฮิงยา สาระฯหน้าที่พลเมือง.
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
แผนงานส่งเสริม พนักงานสัมพันธ์
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
สำหรับผู้บริหาร และอาจารย์
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
การสัมมนาวิชาการ ปขมท.
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
การวัดผลและประเมินผลพฤติกรรมของมนุษย์
การประเมินผลการเรียนรู้
รายงานการประเมินตนเอง
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ. ศ
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
สิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติในงานบริการ (DO & DON’T IN CUSTOMER SERVICE)
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ หน่วยที่ 2 แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) แนวคิดของบลูม (Bloom ,1956)

แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติจากง่ายไปซับซ้อนตามลำดับดังนี้ การรับรู้ (Perception) การเตรียมพร้อมปฏิบัติ (Set) การตอบสนองตามแนวทางที่ให้ (Guided Response)    - การเร้าอวัยวะสัมผัส - การมองหาแนวทางปฏิบัติ - การแปลเป็นการปฏิบัติ - ความพร้อมทางสมอง - ความพร้อมทางกาย - ความพร้อมทางอารมณ์ - การเลียนแบบ - การลองผิดลองถูก

การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex Overt Response) แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) (ต่อ) จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติจากง่ายไปซับซ้อนตามลำดับดังนี้   ขั้นกลไก (Mechanism) การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex Overt Response) มีการเรียนรู้การตอบสนองจนเป็นนิสัย มั่นใจในสิ่งที่ทำ ชำนาญและคล่องแคล่ว - การตัดสินใจกระทำอย่าง เด็ดเดี่ยว ไม่ลังเล - การตอบสนองแบบอัตโนมัติ

การปรับตัว (Adaptation) การริเริ่ม (Origination) แนวคิดของ ซิมป์ซัน (Simpson,1966) (ต่อ) จำแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติจากง่ายไปซับซ้อนตามลำดับดังนี้ การปรับตัว (Adaptation) การริเริ่ม (Origination)   การเปลี่ยนกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้เหมาะสมกับความต้องการหรือสถานการณ์ของปัญหา การริเริ่มรูปแบบการเคลื่อนไหวใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือปัญหาเฉพาะเรื่อง เน้นการสร้างสรรค์บนพื้นฐานของทักษะขั้นสูง

แนวคิดของบลูม (Bloom ,1956) ทักษะ พิสัยเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงาน 1. การรับรู้ (Imitation) รู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้องหรือเป็นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ 2. การกระทำตามแบบหรือเครื่องชี้แนะ (Manipulation) พยายมฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ 3. การหาความถูกต้อง (Precision) สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชี้แนะ 4. การกระทำอย่างต่อเนื่อง (Articulation) การกระทำตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว 5. การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) การฝึกอย่างต่อเนื่อง คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติ

แนวคิดของ ซิมป์สัน (Simpson,1966) 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อมปฏิบัติ 3. การตอบสนองแนวทางที่ให้ 4. ขั้นกลไก 5. การตอบสนองที่ซับซ้อน 6. การปรับตัว 6. การริเริ่ม ค้นหาตัวตนของเด็กแต่ละคน และพัฒนาพฤติกรรม ให้มีระดับที่สูงขึ้น

แนวคิดของ บลูม (Bloom, 1956) ค้นหาตัวตนของเด็กแต่ละคน และพัฒนาพฤติกรรม ให้มีระดับที่สูงขึ้น 1. การรับรู้ 2. การกระทำตามแบบหรือเครื่องชี้แนะ 3. การหาความถูกต้อง 4. การกระทำอย่างต่อเนื่อง 5. การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ

แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment) แนวคิดของ วิกกิ้นส์ (Wiggins ,2002)

แนวคิดของ วิกกิ้นส์ (Wiggins ,2002) งานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติในการประเมินภาคปฏิบัติ หรือการประเมินตามสภาพจริง ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ เกิดขึ้นในชีวิตจริง (Realistic) ต้องปฏิบัติ (Do the subject) ทำในสถานปฏิบัติงาน (Workplace) เป็นงานที่ซับซ้อน (Complex task) ผู้เรียนมีโอกาสปฏิบัติ (Appropriate opportunities) ได้รับการแนะนำ มีผลย้อนกลับเพื่อแก้ไขปรับปรุงผลงาน ต้องใช้การตัดสิน และ สร้างนวัตกรรม (Judge and innovation)

หลักการพื้นฐานการประเมินภาคปฏิบัติ ตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ กำหนดงานให้มีความสอดคล้องกับตัวชี้วัด ยุติธรรม กำหนดเกณฑ์การตรวจให้คะแนนอย่างเป็นปรนัย พิจารณาตัดสินจากหลายองค์ประกอบ