การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โจทย์ 1. x + y + 2z + 3w = 13 x - 2y + z + w = 8 3x + y + z - w = 1
Advertisements

TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Structural Analysis (2)
Equilibrium of a Rigid Body
การใช้สูตร Excel x ให้พิมพ์ใน cell ว่า =5.7*1E+6
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การใช้ MS PowerPOint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
การใช้ MS PowerPoint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Patient Monitoring ผู้จัดโดย นายกันต์ ศิริงามเพ็ญ KMITL
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
อนุพันธ์ (Derivatives)
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
Chapter 11 : Kinematics of Particles
Chapter Objectives Chapter Outline
แก๊ส(Gas) สถานะของสสาร ของแข็ง ของเหลว (ผลึกเหลว) แก็ส
ศิลปะการทำงาน ให้ได้ผล คนพอใจ
Introduction to VB2010 EXPRESS
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
IRobot Create.
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
418341: สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 5
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ทบทวน สนามแม่เหล็ก.
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
โดย น.อ.ชลธร สุวรรณกิตติ ผอ.กวส.พร. ประชุม นขต.พร. ๑๒ ต.ค.๖๑
บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guidelines for organizing learning areas for Students with Disabilities.
สมบัติเชิงกลของสสาร Mechanical Property of Matter
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
Calculus I (กลางภาค)
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
การกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม 2562
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม 1 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพของเด็กไทย
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion)

การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ประกอบด้วยการเคลื่อนที่ 2 แนวพร้อมกัน คือแนวระดับและแนวดิ่ง ซึ่งพบว่าความเร็วต้นทางแนวระดับ ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง โดยดูได้จากการตกของวัตถุที่ปล่อยและวัตถุที่ถูกดีด ถ้าดีดแรงตกไกล ดีดเบาตกใกล้ แต่จะตกถึงพื้นพร้อมกับวัตถุที่ปล่อยให้ตกในแนวดิ่ง ณ จุดเริ่มต้น -เดียวกัน แสดงว่า การเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ดังนั้น จึงแยกคิดการเคลื่อนที่เป็นอิสระต่อกัน 2 แนว ux vx vy v

การเคลื่อนที่ในแนวระดับของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่อยู่ในอากาศจะมีแรงดึงดูดของโลก (mg)กระทำเพียงแรงเดียวเท่านั้น โดยในแนวระดับ แรงกระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ (F=0) จาก Fx = max เมื่อ Fx = 0 ดังนั้น ax = 0 ผลก็คือ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (vx = ux) ดังนั้น สมการในการเคลื่อนที่ในแนวระดับ คือ Sx = uxt เมื่อ Sx = การกระจัดในแนวระดับ ux = ความเร็วในแนวระดับ t = ช่วงเวลาของการเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ ในขณะที่วัตถุอยู่ในอากาศ จะมีแรงดึงดูดของโลก (mg) กระทำเพียงแรงเดียว ดังนั้น ความเร่งของวัตถุในแนวดิ่ง ay จึงเท่ากับ g การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโปรเจคไตล์ ในแนวดิ่ง จะเหมือนกับวัตถุที่ตกอย่างอิสระทุกประการ ดังนั้นสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่งคือ 1.Vy = uy + ay.t 3.Sy = uyt + ½ ayt2 โดยที่ ay = g 4.vy2 = uy2 + 2aysy

การหาการกระจัดและความเร็ว ณ ตำแหน่งต่างๆของการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ ux A  sAB sy B c sx จากรูปถ้าต้องการหาการกระจัด A ถึง B (SAB) sx = การกระจัดของวัตถุในแนวระดับ (c B) sy = การกระจัดของวัตถุในแนวดิ่ง (A c) จะได้ว่า ทิศของsAB หาได้จาก เมื่อ  เป็นมุมที่ SAB ทำกับแนวระดับ สรุป การหาการกระจัดของวัตถุเราต้องรู้ sx,sy ซึ่งหาได้จากสมการการเคลื่อนที่ในแต่ละแนว

Vx = ความเร็วในแนวระดับ ณ จุด B ux A B vx  vy vB จากรูป ถ้าต้องการหาความเร็ว ณ จุด B (vB) ซึ่งอยู่ในแนวเส้นสัมผัสกับส่วนโค้ง ณ จุด B Vx = ความเร็วในแนวระดับ ณ จุด B Vy = ความเร็วในแนวดิ่ง ณ จุด B ดังนั้น จะได้ว่า ทิศของvB หาได้จาก เมื่อ  เป็นมุมที่ vB ทำกับแนวระดับ สรุป การหาความเร็วของวัตถุเราต้องรู้ vx,vy ซึ่งหาได้จากสมการการเคลื่อนที่ในแต่ละแนว

ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ แบบทั่วไปๆ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ แบบทั่วไปๆ 1.มีเฉพาะความเร็วต้นในแนวระดับเพียงแนวเดียว ดังรูป ก 2.มีความเร็วต้นทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง ดังรูป ข และ ค u ux  u uy uy  รูป ก รูป ข ux รูป ค การคำนวณหาปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ เหมือนดังที่กล่าวมาข้างต้น รูป ก ay = g , uy = 0 รูป ข ay = g , ux = ucos , uy = usin รูป ค ay = - g , ux = ucos , uy = usin

สรุปเงื่อนไขการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ 1.วัตถุต้องมีการเคลื่อนที่อย่างอิสระ มีแรงดึงดูดของโลก mg กระทำเพียงแรงเดียว 2.ต้องมีความเร็วต้นในแนวระดับ(ux) ส่วนในแนวดิ่ง(uy) จะมีหรือไม่ก็ได้ โดยความเร็วในแนวระดับคงที่เสมอ 3.เวลาที่ใช้ในการเกิดการกระจัดจากจุดหนึ่งถึงจุดหนึ่ง ในแนวระดับ (x) เท่ากับในแนวดิ่ง (y) 4.ณ จุดสูงสุดของโปรเจคไตล์ ความเร็ว vy =0 แต่ vx = ux ดังนั้นความเร็ว ณ จุดสูงสุดจึงเท่ากับ ux 5.การพิจารณาปริมาณในแนวดิ่ง ถ้ามีทิศลงเพียงทิศทางเดียว ay = g แต่ถ้ามีการเคลื่อนที่ 2 ทิศทาง มีขึ้นและมีลง ay = - g 6.สมการการคำนวณ เหมือนการเคลื่อนที่ในแนวตรงทุกประการ

เมื่อได้ t ก็มาหา อัตราเร็ว ux จากสูตร ตัวอย่างที่1 เมื่อปาวัตถุออกไปในแนวระดับจากที่สูง 80 เมตร ปรากฏว่าวัตถุตกห่างจากจุดปาในแนวราบ 20 เมตร จงหาอัตราเร็วของวัตถุที่ปาออกไป วิเคราะห์โจทย์ เราควรเขียนรูปแสดงการเคลื่อนที่ พร้อมใส่รายละเอียด วิธีทำ เมื่อรู้ Sy = 80 m, Sx = 20 m, Uy = 0 , ay = 10 m/s2 ต้องการหา ux แต่เราต้อง หา t แนวดิ่งก่อน จาก Sy = uyt + ½ ayt2 ux แทนค่า 80 = 0 + ½ (10)t2 t = 4 S 80 m เมื่อได้ t ก็มาหา อัตราเร็ว ux จากสูตร จาก Sx = uxt 20 m แทนค่า 20 = ux(4) ดังนั้น ux = 5 m/s

t2 + 3t – 10 = 0 จาก sy = uyt + ½ ayt2 แทนค่า 50 = usin37๐t + ½ (10)t2 ตัวอย่างที่ 2 ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนดาดฟ้าตึกสูง 50 เมตร แล้วปาก้อนหินออกไปในแนวทำมุม 37 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ว 25 m/s ก. นานเท่าไร ก้อนหินตกถึงพื้น ข.ก้อนหินตกห่างจากตัวตึกเท่าไร วิเคราะห์โจทย์ เขียนรูปแสดงการเคลื่อนที่ พร้อมใส่รายละเอียด เมื่อรู้ว่า u = 25 m/s และ ux =ucos37๐ , uy = usin 37๐ ay = 10 m/s2 , sy = 50 m ก.หาเวลา t ในแนวดิ่ง วิธีทำ จาก sy = uyt + ½ ayt2 ux 37๐ แทนค่า 50 = usin37๐t + ½ (10)t2 U=25m/s 50 = 25(3/5)t + 5t2 uy 50 m 5t2 + 15t – 50 = 0 t2 + 3t – 10 = 0 (t+5) (t-2) = 0 ดังนั้นก้อนหินตกถึงพื้น เมื่อเวลาผ่านไป t = 2 s

ดังนั้น ก้อนหินตกห่างจากตัวตึก 40 เมตร ข.หาระยะที่ก้อนหินตกห่างจากตัวตึก จาก sx = uxt = u(cos37๐ )t แทนค่าลงไป จะได้ = 25 x x 2 Sx = 40 m ดังนั้น ก้อนหินตกห่างจากตัวตึก 40 เมตร

แบบฝึกลองทำดู 1.น้องทรายขับรถออกจากบ้านระยะทาง 900 เมตร ไปสนามบินสุวรรณภูมิซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกและย้อนกลับมาทางทิศตะวันตก 600 เมตร ใช้เวลาเดินทางทั้งหมด 25 นาที น้องทรายจะขับรถด้วยอัตราเร็วเท่าใด (เมตร/วินาที) คำตอบ 1 m/s

2.ขว้างก้อนหินลงจากตึกสูง 80 เมตรด้วยความเร็วในแนวราบ 10 m/s ก้อนหินจะตกถึงพื้นห่างจากตึกในแนวราบเป็นระยะเท่าใด

3.น้องทรายโยนก้อนหินขึ้นจากพื้นด้วยความเร็วต้น 10 m/s ทำมุม 37 องศากับแนวราบ ก้อนหินจะตกลงพื้นห่างจากจุดที่โยนเท่าใด

4.ยิงกระสุนขึ้นจากพื้นด้วยความเร็ว10 m/s ในทิศทำมุม 53 องศากับพื้น ไปยังตึกสูง 5 ชั้น ชั้นละ 5 เมตร กระสุนจะตกลงที่ชั้นใด ถ้าตึกอยู่ห่างจากจุดที่ยิงในแนวราบ 100 เมตร