การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Advertisements

โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ระบบฐานข้อมูลตรวจวัดคุณภาพน้ำ
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
Number system (Review)
IP-Addressing and Subneting
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Basic Input Output System
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Week 5 C Programming.
SMS News Distribute Service
ผู้สอน ครูวัชระ วงษ์ดี
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2 บทที่ 7

การลบเลข กลับบิท แล้วบวกด้วย 1 ในคอมพิวเตอร์แท้จริงแล้วไม่สามารถลบได้ จะใช้การบวก ตัวลบ จะต้องมีการแปลงเป็น 2’s complement แล้วนำมาบวกกับตัวตั้ง วิธีหา 2’s complement กลับบิท แล้วบวกด้วย 1

วิธีหา 2’s complement 0111 1000 7 + 1 1001 0011 12 1100 + 1 0100

ทำการลบโดยการบวก กรณีตัวตั้งมากกว่าตัวลบ 12 - 7 1100 + 1001 10101 ตัดทิ้ง ได้ 1 แสดงว่า เป็นค่า + จะได้ 5

ทำการลบโดยการบวก กรณีตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ 7 - 12 0111 + 0100 1011 1011 ได้ 0 แสดงว่า เป็นค่า - หา 2’s complement 0100 + 1 101 จะได้ -5

การสร้างวงจรลบ หากต้องการลบโดยไม่ใช้วิธี 2’s complement จะกล่าวถึง การประยุกต์ในภายหลัง (Full Subtractor)

ประโยชน์ของ 2’s complement ใช้แทนค่าลบของตัวเลขในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บใน RAM ใช้ signed bit 0 = ค่าลบ 1 = ค่าบวก signed bit สมมติว่าหน่วยความจำของเรามีขนาด 4 บิท จะได้ 24 = 16 ดังนั้น จะเหลือ 3 บิทเก็บข้อมูล ดังนั้นข้อมูลจริงๆมีจำนวน 23 = 8 0/1 xxx

24 = 16 ทั้งหมด 16 ค่า, 23 = 8 ค่า + และ - 24 = 16 ทั้งหมด 16 ค่า, 23 = 8 ค่า + และ - 0111 0110 0101 0100 0011 0010 0001 0000 1111 1110 1101 1100 1011 1010 1001 1000 7 6 5 4 3 2 1 -1 -2 -3 -4 -5 -6 -7 -8 + - 2’s complement

ถ้าหน่วยความจำ 8 บิทจะเก็บเลขได้เท่าไร ประกาศตัวแปร byte 28 = 256 หาร 2 ได้ 128 ดังนั้น ค่าบวกจะได้ = 0 ถึง 127 ค่าลบจะได้ –1 ถึง -128 127 01111111 … 00000001 00000000 11111111 10000001 10000000 int 16 บิท float 32 บิท -128

รหัส BCD Binary coded decimal ใช้แทนเลขฐาน 10 เลขฐาน 10 จำนวน 1 ตัว สร้างได้จากเลขฐาน 2 จำนวน 4 ตัว ตัวอย่าง 0100 0101 0101 0010 27 0010 0111 5 0100 0101

การตรวจสอบความผิดพลาดของ BCD code หากค่าเกิน 9 จะ ERROR (เลข 0-9) แก้ไขได้โดยบวกด้วย 6 เช่น 72 + 44 0111 0010 0100 0100 + 1011 0110 1011 + 0110 +6 ได้ 10001 1 1 6

Multiplexer แบบ 2 อินพุท เราสามารถนำข้อมูลจากหลายๆอินพุทมารวมกันให้ออกเป็น Output เดียวได้ เรียกว่า การ Multiplex วงจรที่ทำงานนี้คือ Multiplexer ใช้หลักการของการสลับข้อมูล ไปตามช่วงเวลาเล็กๆ 1 MUX 2 321 3

วงจร Multiplexer แบบ 2 อินพุท A ทำงานเป็น Address Input ซึ่งใช้เลือก Input ที่ต้องการส่งข้อมูล

การทำงาน อินพุทที่เราต้องการ Multiplex มี 2 ตัว ได้แก่ x1 และ x2 A ทำหน้าที่เลือกอินพุทที่จะส่งออกไป Output ดังนั้น หากเราส่งข้อมูลไปที่ A สลับกัน (0,1) ข้อมูลของ x1 และ x2 ก็จะสลับกันไปด้วย ในการส่งเราอาจส่งข้อมูลไปที่ A แบบสัญญาณนาฬิกาก็ได้ แต่ข้อมูลทั้งหมดจะต้องเข้าจังหวะกัน (Synchronize)

สัญญาณ Clock เป็นสัญญาณแรงดันไฟฟ้าขึ้นและลง ตามช่วงเวลาที่คงที่ สัญญาณ 0 และ 1 สลับกัน

วงจร Multiplexer แบบ 4 อินพุท ใช้ A, B ในการเลือกอินพุท

2-to-4 Demultiplexer

ทำการทดลอง ให้ลองต่อวงจร Multiplexer และ Demultiplexer ตามรูปที่แสดงมาแล้ว

การทำงาน ข้อมูลเข้ามาที่ IN A และ B เป็นตัวเลือกว่าจะส่งไปออกที่ Output ตัวไหน A และ B นี้จะนำไป Synch กับ A และ B ที่ตัว Multiplexer