อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ระบบโทรคมนาคม.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
ศูนย์พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔ ด้วยระบบ TEPE Online ระดับภาค.
ครูสุนทร ยี่สุ้น จบการศึกษา : วิศวคอมพิวเตอร์ Website : 1.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
สินค้าและบริการ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
มาตรฐาน IEEE มาตรฐาน IEEE
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ที่ปรึกษาโครงการ 1. นายประวัติวิทย์ สวัสดิ์ดวง ผส.ชป.13 ประธานที่ปรึกษา 2. นายไพศาล พงศ์นรภัทร ผชช.ชป.13 ที่ปรึกษา 3. นายไพรัตน์ ทับประเสริฐ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือไม่หุ้มฉนวน.
สินค้าและบริการ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การพัฒนาระบบการให้บริการอินเทอร์เน็ตอัตโนมัติ โดยใช้รายการควบคุม
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline พื้นฐานเครือข่ายแลนไร้สาย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สาย ซอฟต์แวร์เครือข่ายไร้สาย วิธีเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สาย ขอบเขตรัศมีของเครือข่ายไร้สาย ชั้นสื่อสารย่อย MAC บน WLAN และ CSMA/CA

พื้นฐานเครือข่ายแลนไร้สาย มาตรฐานที่ใช้กับเครือข่ายแลนไร้สายคือ IEEE 802.11 ที่ครอบคลุมชั้นสื่อสาร ฟิสิคัลและดาต้า ลิงก์บนแบบจำลอง OSI เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจมากในปัจจุบัน เพราะไม่จำเป็นต้องใช้สายในการเชื่อมต่อ ซึ่งมี ความยืดหยุ่นมากกว่าในการใช้งานบางพื้นที่

อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สาย ฮาร์ดแวร์ของเครือข่ายไร้สายทำหน้าที่เดียวกับ ฮาร์ดแวร์ที่ใช้บนเครือข่ายแลนแบบมีสาย แต่ ต่างกันที่อุปกรณ์บนเครือข่ายไร้สายจะใช้คลื่นวิทยุ ในการส่งข้อมูลแทนสายส่งสัญญาณ อุปกรณ์ที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ในการเชื่อมต่อ เครือข่ายไร้สายคือการ์ดเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network Interface Card) อุปกรณ์ที่เป็นจุดรับ-ส่งสัญญาณไร้สาย คือ Access Point : AP ที่ทำหน้าที่คล้ายฮับหรือรีพีต เตอร์ ใน AP รุ่นใหม่ๆจะมีการรวมอุปกรณ์หลาย อย่างเข้าด้วยกัน เช่น สวิตช์ บริดจ์ หรือเรา เตอร์

การ์ดเครือข่ายไร้สาย และ Access Point

ซอฟต์แวร์เครือข่ายไร้สาย ซอฟต์แวร์ของการ์ดเครือข่ายไร้สายจะมีอยู่ 2 ชนิด คือ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ และ ไดร์ฟเวอร์ของอุปกรณ์ ซึ่งไดร์ฟเวอร์ส่วนใหญ่จะ เป็นแบบ Plug and Play (PnP) อยู่แล้ว จึงไม่ ต้องติดตั้งอะไรเพิ่มเติม ซอฟต์แวร์ที่ใช้กับ AP ปกติจะต้องทำการเชื่อมต่อ AP เข้ากับคอมพิวเตอร์ แล้วทำ การคอนฟิกผ่านเว็บเบราเซอร์

วิธีเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สาย สามารถเชื่อมต่อได้ 2 วิธี คือ Ad-Hoc Mode หรือ Peer-to-Peer แต่ละโหนด บนเครือข่ายจะเชื่อมต่อกันโดยตรง ข้อดีคือความ ประหยัด แต่การเชื่อมต่อเช่นนี้จะเหมาะกับ เครือข่ายขนาดเล็ก เพราะบริหารจัดการได้ยาก และไม่ได้คำนึงถึงความปลอดภัย Infrastructure Mode จะใช้อุปกรณ์ AP เป็น ศูนย์กลางในการรับ-ส่งสัญญาณ สามารถเชื่อมต่อ AP เข้ากับเครือข่ายแบบมีสายเพื่อใช้งานร่วมกันได้ เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการใช้งานภายในองค์กร

Basic Service Sets (BSSs)

Extended Service Sets (ESSs)

การเลือกโหมดการคอนฟิก AP

ตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบ Bridge AP

ตัวอย่างการเชื่อมต่อแบบ Repeater AP Wired LAN Root AP Repeater AP

ขอบเขตรัศมีของเครือข่ายไร้สาย ขอบเขตรัศมีของสัญญาณไร้สายเป็นสิ่งที่กำหนด ชัดเจนได้ยาก เพราะมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้วยมากมาย เช่น สิ่งกีดขวาง อาจเป็นตึก ผนังอาคาร จะส่งผล ให้สัญญาณลดทอนลงไป เราสามารถใช้อุปกรณ์ Bridge Access Points เพื่อ นำมาเชื่อมโยงเครือข่าย 2 เครือข่ายขึ้นไปได้ สามารถใช้ Repeater Access Point มาเพิ่มขอบเขต ของเครือข่ายได้ การตรวจสอบความแรงของสัญญาณสามารถใช้ ซอฟต์แวร์มาช่วยตรวจสอบได้ เช่น โปรแกรม Network Stumbler หรือ Network Manager เป็นต้น

ลักษณะการปล่อยสัญญาณ Wi-Fi ทั้งแนวราบและแนวตั้ง ในอุปกรณ์ Cisco Aironet

โปรแกรมวัดความแรงของสัญญาณ Network Stumbler http://www. netstumbler

ชั้นสื่อสารย่อย MAC บน WLAN ชั้นสื่อสารฟิสิคัลในมาตรฐาน 802.11 สามารถ รับส่งข้อมูลด้วยความเร็วแตกต่างกันได้ เช่น 11 Mbps และ 54 Mbps โดยใช้สื่อกลางส่งข้อมูลเป็น คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz และ 5 GHz ชั้นสื่อสารย่อย MAC เป็นส่วนหนึ่งของชั้นสื่อสาร ดาต้าลิงก์ มาตรฐาน 802.11 ได้กำหนดออกเป็น 2 ชั้นย่อย คือ DCF (Distributed Coordination Function) และ PCF (Point Coordination Function)

ชั้นสื่อสารย่อย MAC [2] DCF จะใช้วิธีการเข้าถึงสื่อกลางแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance) ซึ่งแตกต่างกับ CSMA/CD ที่ใช้ใน อีเทอร์เน็ตแบบมีสาย PCF จะส่งเสริมการทำงานของ MAC

CSMA/CA Flow Chart RTS : Request to Send CTS : Clear to Send

การเข้าถึงสื่อกลางด้วยวิธี CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance) RTS Request to Send CTS Clear to Send ACK Acknowledgement SIFS Short Inter-Frame Space DIFS DCF Interframe Space เป็นช่วงเวลาที่ช่องสัญญาณว่าง