กลศาสตร์ของไหล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กระบวนการของการอธิบาย
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การทำ Normalization 14/11/61.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
พื้นที่ผิวของพีระมิด
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ระดับความเสี่ยง (QQR)
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
DC Voltmeter.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Elements of Thermal System
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
ความหนืด (viscosity) - 
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 5 แสงและทัศนะศาสตร์ Witchuda Pasom.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ความดัน (Pressure).
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ขดลวดพยุงสายยาง.
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลศาสตร์ของไหล

กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) คือ สสารที่สามารถไหลได้ตามธรรมชาติ และมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ ของเหลว (Liquid) : มีปริมาตรคงที่, รูปร่างเปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ ของไหลที่ไม่สามารถกดให้หดได้ (incompressible fluid) แก๊ส (Gas) : ปริมาตรและรูปร่างเปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ ของไหลที่สามารถกดให้หดได้ (compressible fluid)

กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) การศึกษาเกี่ยวกับของไหลที่หยุดนิ่ง สถิตศาสตร์ของของไหล (Fluid statics) ของไหลที่อยู่นิ่งจะไม่มีแรงสัมผัส (tangential force) กระทำ แรงสัมผัส จะทำให้ ชั้น (layer) ของของไหลเลื่อนผ่านชั้นอื่น ๆ ต่อ ๆ กันไป เกิดการไหล สำหรับของไหลที่อยู่นิ่งจะมีแรงกระทำตั้งฉากกับผิวของไหลเท่านั้น การศึกษาของไหลที่กำลังเคลื่อนที่ พลศาสตร์ของของไหล (Fluid dynamics)

กลศาสตร์ของไหล ความหนาแน่นของสสาร (density) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสสารหนึ่ง หน่วย SI : Kg/m3 หน่วย cgs : g/cm3 แปลงหน่วย cgs เป็น SI 1 g/cm3=103 kg/m3 กระป๋องยูเรกา ใช้หาปริมาตรของสสาร อ่านว่า โรห์ , rho

กลศาสตร์ของไหล ความหนาแน่นของสสาร (density) สสารที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน ความหนาแน่น ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ในสสารอาจแตกต่างกัน พิจารณาความหนาแน่นที่จุดใด ๆ จุดนั้นสสารมีปริมาตรน้อย ๆ dV ซึ่งมีมวล dm ความหนาแน่น ณ จุดนั้นเป็น

กลศาสตร์ของไหล ตาราง ความหนาแน่นของสารบางชนิด

กลศาสตร์ของไหล ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (relative density) ความหนาแน่นของสารนั้นเทียบกับความหนาแน่นของสารอ้างอิง (น้ำบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส) ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของปรอท 13.6 (ไม่มีหน่วย) เมื่อสารทั้งสองมีปริมาตรเท่ากัน ปรอทมีมวลเป็น 13.6 เท่าของน้ำ ในอดีตเรียกความหนาแน่นของสารเทียบกับความหนาแน่นของน้ำว่า ความถ่วงจำเพาะ (specific gravity)

กลศาสตร์ของไหล ความดันในของไหล (Pressure in a Fluid) เหตุใดน้ำจึงพุ่งออกจากรูที่เจาะไว้ การที่น้ำพุ่งออกจากรู แสดงว่า มีแรงกระทำต่อน้ำ ในทิศตั้งฉากกับผนังภาชนะที่ตำแหน่งรูเจาะ ขนาดของแรงดันที่กระทำตั้งฉากต่อพื้นที่หนึ่งหน่วยเรียกว่า ความดัน (pressure) นิยาม

กลศาสตร์ของไหล ความดันในของไหล (Pressure in a Fluid) แรงที่ของเหลวกระทำต่อวัตถุที่จมจะมีทิศตั้งฉากกับพื้นที่ผิวของวัตถุเสมอ เครื่องมือวัดความดันในของไหล เมื่อเครื่องวัดความดันจมอยู่ในของไหล ของไหลก็จะกดลูกสูบและสปริง จนในที่สุดแรงที่กดสมดุลกับแรงของสปริง เมื่อทราบแรงของสปริง (จากการปรับเทียบมาตรฐาน) ก็สามารถหาความดันได้ Source : Serway

กลศาสตร์ของไหล ความดันในของแข็ง (Pressure in a Solid) พิจารณารองเท้าหิมะ (snowshoes) รองเท้าหิมะทำให้คนยังสามารถยืนอยู่บนหิมะที่อ่อนนุ่มได้เพราะว่าแรงที่เกิดจากคนมีการกระจายแรงในทิศลงไปบนหิมะโดยที่รองเท้าหิมะมีพื้นที่มากในการรองรับแรง ส่งผลให้ความดันที่พื้นผิวหิมะลดลง Source : Serway Source : Hyper Physics เจ็บมือตรงด้านแหลม

กลศาสตร์ของไหล คำถามชวนคิด สมมติว่าคุณยืนอยู่ด้านหลังใครบางคนซึ่งเดินถอยหลังและบังเอิญเดินไปเหยียบบนเท้าของคุณด้วยส้นรองเท้า คุณอยากให้เป็นคนใดที่เหยียบเท้าคุณระหว่าง นักบาสเกตบอลมืออาชีพตัวใหญ่มากซึ่งใส่รองเท้าผ้าใบ ผู้หญิงสวยมากใส่รองเท้าส้นสูงแหลม

กลศาสตร์ของไหล ความดัน ณ ตำแหน่งใด อัตราส่วนของแรงน้อย ๆ dF ที่กระทำบนพื้นที่น้อย ๆ dA ณ จุดนั้น ความดันมีหน่วยเป็น นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2) เพื่อเป็นเกียรติแก่ Blaise Pascal จึงตั้งชื่อหน่วยความดันเป็น Pascal (Pa) 1 Pa = 1 N/m2 ในทางอุตุนิยมวิทยา มีหน่วยความดันเป็น บาร์ (bar) และ 1 bar = 105 Pa ความดันเป็นปริมาณ สเกลาร์

กลศาสตร์ของไหล ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure) เป็นความดันที่เกิดจากความกดดันของบรรยากาศของโลก มีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามตำแหน่งและระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล และเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของบรรยากาศด้วย ความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ยจะมีค่า P0=1.013 x 105 Pa = 14.7 lb/in2 =1atm P0=1.013 bar = 1013 millibar โดยทั่ว ๆ ไป วัดความดันบรรยากาศ โดยใช้ บารอมิเตอร์ (barometer) เช่น บารอมิเตอร์ปรอท Source : Serway

ที่มา : กิติศักดิ์ บุญขำ กลศาสตร์ของไหล ความดัน ความลึก และกฎของพาสคัล (Pressure, Depth and Pascal’s Law) ความดันบรรยากาศจะลดลงตามระดับความสูงจากพื้นโลก ความดันที่ก้นสระจะมากกว่าความดันที่จุดใด ๆ ซึ่งอยู่ตื้นกว่า พิจารณาส่วนของของไหลปริมาตรน้อย ๆ ในของไหลอยู่นิ่ง แรงลัพธ์ในแนวดิ่งเป็นศูนย์ จะได้ ความดันขึ้นกับความสูงจากระดับอ้างอิง ความสูงระดับอ้างอิงเพิ่มขึ้น ความดันจะลดลง ที่มา : กิติศักดิ์ บุญขำ

ที่มา : กิติศักดิ์ บุญขำ กลศาสตร์ของไหล ความดัน ความลึก และกฎของพาสคัล (Pressure, Depth and Pascal’s Law) อินทิเกรตสมการ จะได้ พิจารณาความลึกจากผิวของของไหล จุดที่ 1 มีความดันเป็น p จุดที่ 2 (ที่ผิวของของไหล) มีความดันเป็น p0 h เป็นความลึกที่วัดจากผิวของของเหลว ที่มา : กิติศักดิ์ บุญขำ

กลศาสตร์ของไหล จากสมการ ความดัน ณ จุดใด ๆ ที่อยู่ในระดับความลึกเดียวกัน (ในของไหลชนิดเดียวกัน) จะมีค่าเท่ากัน นั่นคือ รูปร่างของภาชนะไม่มีผลต่อความดัน ณ จุดที่อยู่ในระดับเดียวกัน Source : Hyper Physics

กลศาสตร์ของไหล ความดันเกจและความดันสัมบูรณ์ (Absolute Pressure and Gauge Pressure) จากสมการ เรียก p-pa ว่า ความดันเกจ (gauge pressure) ผลต่างระหว่างความดันภายในภาชนะกับความดันบรรยากาศ เรียก p ว่า ความดันสัมสัมบูรณ์ (absolute pressure) ความดันสุทธิภายในภาชนะ

กลศาสตร์ของไหล คำถามชวนคิด แก้วที่เติมน้ำจนเต็มมีความดันที่ก้นแก้วเป็น P น้ำมีความหนาแน่นเท่ากับ 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อเทน้ำออกจนหมดแล้วเติม ethyl alcohol ที่มีความหนาแน่น 806 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จนเต็ม ความดันที่ก้นแก้วจะเป็นเช่นไร น้อยกว่า P เท่ากับ P มากกว่า P สรุปไม่ได้

กลศาสตร์ของไหล การคำนวณหาความดันบรรยากาศของโลก ความหนาแน่นของอากาศเปลี่ยนแปลงตามความสูง (ความดัน) และ เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ และเป็นไปตามกฎของแก๊ส จาก อินทิเกรตจะได้ สมการของบารอมิเตอร์ (barometric equation)

กลศาสตร์ของไหล กฎของพาสคัล (Pascal’s Law) จากสมการ หลักการนี้ค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal (ค.ศ. 1623 -1662) หลักการนี้เรียกว่า กฎของพาสคัล กล่าวไว้ดังนี้ กฎของพาสคัล : “เมื่อความดันในของไหลเปลี่ยนแปลง ความดันที่เปลี่ยนแปลงนั้นจะส่งผ่านไปยังทุกๆจุดของของไหล และผนังของภาชนะที่บรรจุด้วย”

กลศาสตร์ของไหล กฎของพาสคัล (Pascal’s Law) พิจารณาการทำงานของเครื่องยกไฮดรอลิก โดยใช้กฎอนุรักษ์พลังงาน (Conservation of Energy) งานที่ให้ = งานที่ได้รับ แต่ปริมาตรเท่ากัน ดังนั้น

กลศาสตร์ของไหล กฎของพาสคัล(Pascal’s Law) เมื่อความดันในของไหลเปลี่ยนแปลง ความดันที่เปลี่ยนแปลงนั้นจะส่งผ่านไปยังทุกๆจุดของของไหล และผนังของภาชนะที่บรรจุด้วย ตัวอย่างหนึ่งของกฎของพาสคัล (การทำงานของเครื่องยกไฮดรอลิก) หรือเขียนได้เป็น

กลศาสตร์ของไหล การประยุกต์ใช้กฎของพาสคัล แม่แรงยกรถ(Car lifts) แม่แรงไฮดรอลิก(Hydraulic jacks) รถยกของ(Forklifts) ห้ามล้อไฮดรอลิก(Hydraulic brakes)

เครื่องวัดความดัน (Pressure guage) บารอมิเตอร์( Barometer) Mercury Barometer (บารอมิเตอร์ชนิดปรอท) ประดิษฐ์ขึ้นโดย Torricelli ประกอบด้วยท่อปลายปิดยาวบรรจุปรอทไว้จนเต็มจากนั้นก็กลับท่อให้ท่อจุ่มลงในอ่างใส่ปรอทโดยให้ปลายปิดอยู่ด้านบน ที่ปลายปิดด้านบนเกือบจะเป็นสุญญากาศ ใช้สำหรับวัดความดันบรรยากาศ มีค่าเป็น ความดันบรรยากาศจะขึ้นอยู่กับความสูงของลำปรอทในหลอดแก้ว บอกความดันบรรยากาศเป็นความสูงของลำปรอท เช่น มิลลิเมตรของปรอท (mmHg)

เครื่องวัดความดัน (Pressure guage) Mercury Barometer (บารอมิเตอร์ชนิดปรอท) ความดัน 1 บรรยากาศ (1 atm) ความดันที่เกิดจากลำปรอทในบาโรมิเตอร์ที่สูง 0.7600 m (760 mm) ที่อุณหภูมิห้อง ความหนาแน่นของปรอทเท่ากับ 13.6 x 103 kg/m3 ดังนั้น

เครื่องวัดความดัน (Pressure guage) มาโนมิเตอร์ชนิดปลายเปิด (Open-Tube Manometer) หลอดตัวยู บรรจุปรอท เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความดันของก๊าซที่บรรจุอยู่ในภาชนะ ปลายหนึ่งของหลอดรูปตัวยู (U-shaped) จะถูกเปิดออกให้สัมผัสกับอากาศ อีกปลายหนึ่งจะถูกต่อกับภาชนะที่มีความดันที่ต้องการจะวัค ระดับของเหลวที่จุด A และ จุด B ในหลอดตัวยูอยู่ระดับเดียวกันจึงมีความดันเท่ากัน (PA=PB) ความดันที่จุด B คือ P0+ρgh ดังนั้น ความดันที่จุด A P = P0 + rgh

เครื่องวัดความดัน (Pressure guage) มาโนมิเตอร์ชนิดปลายเปิด (Open-Tube Manometer) P = P0 + rgh P คือ ความดันสัมบูรณ์ P – P0 เรียกว่า ความดันเกจ ซึ่งมีค่าเท่ากับ rgh ตัวอย่างเช่นความดันที่วัดได้จากยางรถยนต์ เป็นความดันเกจ

เครื่องวัดความดัน (Pressure guage) การใช้มานอมิเตอร์ในการวัดความดันของเหลว

แรงดันของของเหลว จากสมการ ความดันของของเหลวจะเปลี่ยนแปลงตามความลึก ที่พื้นผิว A ของ ก้นถัง ทุกๆ จุดบนพื้นที่ A จะมีความดันเท่ากัน ใช้สมการ F=pA ความดันของของเหลวที่ ผนังด้านข้าง เปลี่ยนแปลงตามความลึก แรงดันจึงเปลี่ยนแปลงตามความลึกด้วย แรงดันจะมีขนาดมากขึ้นเรื่อย และ แปรผันตามความลึก ณ ตำแหน่งต่ำสุดจะมีขนาดของแรงดันเท่ากับที่ก้นถัง

แรงดันของของเหลว การคำนวณหาแรงลัพธ์ต่อผนังด้านข้างที่กระทำโดยของเหลว ใช้ความดันเฉลี่ยบนพื้นผิวด้านข้าง ดังนั้น แรงดันผนังด้านข้างจึงเป็น และสามารถเขียนเป็นสมการทั่วไปได้เป็น

แรงที่กระทำต่อเขื่อน (The Force on a Dam),1 น้ำในเขื่อนมีความสูง H ซึ่งเขื่อนมีความกว้าง w ดังรูป หา แรงลัพธ์ ของน้ำที่กระทำต่อผนังเขื่อน เนื่องจากความดันแปรผันกับความลึกจึงไม่สามารถหาค่าแรงลัพธ์จากผลคูณของความดันกับพื้นที่ได้( F=PA ) แต่จะแก้ปัญหาโดยใช้สมการ และสมการ จะได้ ดังนั้นแรงลัพธ์ที่กระทำต่อผนังเขื่อนคือ

แรงที่กระทำต่อเขื่อน (The Force on a Dam),3 แรงที่น้ำดันเขื่อนจะพยายามดันให้ฐานของเขื่อนไถลไปด้านหลัง ขณะเดียวกันโมเมนต์ของแรงนี้ก็พยายามหมุนเขื่อนให้พลิกคว่ำรอบจุด O ซึ่งอยู่หลังฐานเขื่อน สามารถหาตำแหน่งที่แรงลัพธ์กระทำบนผนังเขื่อน จาก และ จะได้

แรงที่กระทำต่อเขื่อน (The Force on a Dam),2 ถ้าให้ B เป็นความสูงเหนือจุด O ที่แรงลัพธ์กระทำบนเขื่อนที่จะทำให้เกิดโมเมนต์นี้ จะได้ว่า ดังนั้น ตำแหน่งที่แรงลัพธ์กระทำต่อเขื่อนจึงอยู่เหนือฐานเขื่อนเป็นระยะ 1/3 ของความลึกของน้ำ หรืออยู่ต่ำกว่าผิวน้ำเป็นระยะ 2/3 ของความลึกของน้ำ

การลอยตัว(Buoyancy) และ หลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes ‘ s Principle) ทำไมเวลากดลูกบอลชายหาดให้จมลงไปในน้ำ จะต้องออกแรงเยอะมาก หรือ เมื่อเรายกวัตถุที่จมอยู่ในน้ำ เราจะรู้สึกว่าหนักน้อยกว่าเมื่อ ยกวัตถุอยู่ในอากาศ ท

การลอยตัว(Buoyancy) และ หลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes ‘ s Principle) เมื่อวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าของไหลวัตถุจะลอย โฟมจะลอยบนผิวน้ำ, บอลลูนที่บรรจุด้วยแก๊สฮีเลียมจะลอยได้ในอากาศ แต่วัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่าของไหลจะจมในของไหล ก้อนเหล็กจะจมน้ำ ถ้าก้อนเหล็กมีโพรงข้างใน ก้อนเหล็กอาจจะลอยน้ำก็ได้ ปรากฏการณ์เหล่านี้อาร์คิมีดิส ได้สังเกตและตั้งเป็นหลักไว้ว่า เมื่อวัตถุใด ๆ จมอยู่ในของไหลทั้งก้อนหรือจมอยู่เพียงบางส่วน ของไหลจะออกแรงยกวัตถุขึ้นตามแนวดิ่ง โดยแรงยกนี้จะมีค่าเท่ากับน้ำหนักของของไหลที่ส่วนที่ถูกแทนที่ ท

การลอยตัว(Buoyancy) และ หลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes ‘ s Principle) พิจารณาแท่งวัตถุทรงกระบอกสูง h มีพื้นที่หน้าตัด A จมอยู่ในของไหลความหนาแน่น r แรงในแนวระดับที่กระทำต่อผิวทรงกระบอกจะหักล้างกันหมด ที่ผิวบนของทรงกระบอก ของไหลออกแรงกดตามแนวดิ่ง ที่ผิวล่างของไหลออกแรงดันขึ้นตามแนวดิ่ง ดังนั้นแรงลัพธ์ในแนวดิ่งที่เกิดจากของไหลกระทำต่อทรงกระบอก เรียกว่า แรงลอยตัว (Buoyant force) , B ท

การลอยตัว(Buoyancy) และ หลักของอาร์คิมีดิส (Archimedes ‘ s Principle) แรงลอยตัว (Buoyant force) , B หรือ น้ำหนักของของไหลที่ถูกแทนที่ ท

หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน พิจารณาวัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อนซึ่งของเหลวมีความหนาแน่นเป็น แรงลอยตัวซึ่งมีทิศขึ้นคือ แรงโน้มถ่วงซึ่งมีทิศลงคือ w = mg = แรงลัพธ์คือ B - Fg =

หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน , ต่อ หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน , ต่อ ถ้าความหนาแน่นของวัตถุน้อยกว่ากว่าหนาแน่นของของเหลว วัตถุจะมีความเร่งในทิศขึ้น ถ้าความหนาแน่นของวัตถุมากกว่าความหนาแน่นของของไหล วัตถุจะจม การเคลื่อนที่ของวัตถุในของไหล จะถูกกำหนดโดยความหนาแน่นของของไหล และ ความหนาแน่นของวัตถุ

หลักของอาคิมีดิส : วัตถุลอยในของเหลว หลักของอาคิมีดิส : วัตถุลอยในของเหลว พิจารณาวัตถุที่มีปริมาตร(Vobj)ซึ่งมีความหนาแน่นของวัตถุน้อยกว่าหนาแน่นของของไหล เมื่อวัตถุจะอยู่ในสภาพ สมดุลสถิต วัตถุจะลอยอยู่ที่ผิวของของเหลว (จมบางส่วน) แรงลอยตัวที่มีทิศขึ้น จะเท่ากับแรงโน้มถ่วงของโลกซึ่งมีทิศลง หรือ ปริมาตรของของเหลวที่ถูกแทนที่จะเท่ากับปริมาตรของวัตถุที่จมอยู่ในของเหลว

หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน , ต่อ หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน , ต่อ ทำไมปลาว่ายน้ำที่ระดับความลึกต่าง ๆ ได้ (จมอยู่ในน้ำที่ระดับความลึกต่างๆ) ปลาจะมีน้ำหนักมากกว่าแรงลอยตัว ทำให้ปลาจมอยู่ใต้น้ำ แต่ปลามีถุงลม สำหรับ ปรับปริมาตร เป็นกลไก ในการเพิ่มหรือลด แรงลอยตัว ทำให้ปลาสามารถว่ายน้ำที่ระดับความลึกต่าง ๆ ได้ เช่นเดียว กับเรือดำน้ำสามารถ ดำน้ำที่ระดับความลึกต่าง ๆ ได้

หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน , ต่อ หลักของอาคิมีดิส : วัตถุที่จมอยู่ในของเหลวทั้งก้อน , ต่อ เรือเดินสมุทร ทำจากเหล็กที่มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำแต่สามารถ ลอยลำอยู่ในทะเลได้