เทพเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
beauty shoes รองเท้าแตะ รองเท้าส้นสูง รองเท้าส้นเตี้ย รองเท้าบู๊ท
Advertisements

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SEASEASEASEA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การใช้ นโยบายการเงิน ในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทอ่อน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
Art & Architecture Medieval Age
อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
วันขอบพระคุณพระเจ้า Thanksgiving
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทย
คัมภีร์ของศาสนายูดาห์(ยูดาย)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Easter อาจารย์สอง Satit UP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
คัมภีร์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
Longitude & Time อาจารย์สอง Satit UP
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Longitude & Time อาจารย์สอง Satit UP
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
ความรู้พื้นฐานทั่วไป ของศาสนาคริสต์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
สัญลักษณ์/เครื่องหมาย ของศาสนาอิสลาม
PHOTO HUNT Press SpaceBar … START ม.กรวิชญ์ โสภา.
คัมภีร์ ของศาสนาคริสต์
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สำหรับใช้งานระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
สมณศักดิ์ของผู้นำหรือนักบวชในศาสนา Hierarchy of Church
ศาสนศักดิ์ในศาสนาคริสต์ นิกายตะวันตก(โรมันคาทอลิก)
ดูแลสุขภาพวันละนิดเพื่อชีวิตที่สดใส
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
รายรับ ของรัฐ อาจารย์สอง Satit UP.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Boundary AJ.2 : Satit UP.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
Education การศึกษาในยุคกลาง
ยุคกลาง : Medieval Age Priest อาจารย์สอง Satit UP.
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
Promised Land อาจารย์สอง Satit UP.
นิกาย ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
PROVINCE AJ.2 : Satit UP.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทพเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อาจารย์สอง Satit UP

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทวะ/เทพทั้ง 3 พระองค์ ตรีมูรติหรือ 3 มหาเทพผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในศาสนาฮินดู ตรีมูรติ ซึ่งแทน พระปรมาตมัน พระเจ้าสูงสุด

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ พระพรหม พระวิษณุ  พระศิวะ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ

พระวิษณุ(พระนารายณ์) พระพรหม พระวิษณุ(พระนารายณ์) พระศิวะ(พระอิศวร)

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ พระพรหม พระวิษณุ  พระศิวะ ผู้สร้าง ผู้ปกปักรักษา  ผู้ทำลาย

นับถือพระเจ้าหลายองค์ วิวัฒนาการ/พัฒนาการ การนับถือเทพเจ้าของศาสนาฮินดู นับถือพระเจ้าหลายองค์ ยุคต่อมา สร้างพระเจ้าสูงสุดองค์เดียวคือ -- พระพรหม ยุคต่อมา ตรีมูรติ(มหาเทพ) + นับถือเทพเทวี + เทพอื่น ๆ

พระพรหม Brahama

พระพรหม ( Brahma ) พระผู้สร้าง มี 4 พระพักตร์ เป็นหนึ่งในมหาเทพของฮินดูและเป็นหนึ่งในตรีมูรติ

พระพรหม ( Brahma ) พระผู้สร้าง มี 4 พระพักตร์ เป็นหนึ่งในมหาเทพของฮินดูและเป็นหนึ่งในตรีมูรติ

พระพรหม ( Brahma ) พระผู้สร้าง มี 4 พระพักตร์ เป็นหนึ่งในมหาเทพของฮินดูและเป็นหนึ่งในตรีมูรติ

พญาหงส์ เป็นพาหนะของพระพรหม พระพรหม ( Brahma ) พญาหงส์ เป็นพาหนะของพระพรหม

+ คนโทบรรจุน้ำ (จากแม่น้ำคงคา) 4 หน้า ช้อนสำหรับหยอด + ไขเนยลงในไฟ + คนโทบรรจุน้ำ (จากแม่น้ำคงคา) หงษ์ + คัมภีร์พระเวท + ลูกประคำ พระพรหม

พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ Vishnu

พระวิษณุ ( พระนารายณ์ ) Vishnu

จักร สังข์ ดอกบัว คฑา

พระวิษณุ (พระนารายณ์) Vishnu เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระวิษณุ (พระนารายณ์) Vishnu เทพผู้รักษา และคุ้มครองโลกให้เป็นสุข สัญลักษณ์แห่งการรักษาความดี และต่อสู้อธรรม เทพแห่งจักรวาล, รักษาโรค, อวตารปราบอธรรม พระนารายณ์อวตาร

พระนารายณ์ (พระวิษณุ) มีพาหนะ คือ “ พญาครุฑ ” พระนารายณ์ (พระวิษณุ) มีพาหนะ คือ “ พญาครุฑ ”

พระนารายณ์(พระวิษณุ) มีพาหนะ คือ “ พญาครุฑ ”

พระนารายณ์(พระวิษณุ) พระองค์บรรทมหลับอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช 1000 เศียร ณ ท่ามกลางมหาสมุทรหรือเกษียรสมุทร ที่รู้กันคือ ทะเลน้ำนม ในขณะที่บรรทมหลับอยู่นั้นเรียกว่า “นารายณ์บรรทมสินธุ์” มีดอกบัวงอกขึ้นจากพระนาภี (สะดือ) กลางดอกบัวนั้นเป็นที่กำเนิดของพระพรหม ผู้สร้างโลก เมื่อพระพรหมสร้างโลกเสร็จแล้ว พระวิษณุทรงตื่นจากบรรทมและสถิตอยู่บนสวรรค์ชั้นสูงสุด

พระนารายณ์(พระวิษณุ) “นารายณ์บรรทมสินธุ์”

พระวิษณุ(พระนารายณ์)

พระนารายณ์(พระวิษณุ) พระองค์บรรทมหลับอยู่ ท่ามกลางมหาสมุทรหรือเกษียรสมุทร

อวตารของพระนารายณ์ (นารายณ์ 10 ปาง) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อวตารของพระนารายณ์ (นารายณ์ 10 ปาง) “อวตาร” หมายถึง การแบ่งภาคลงมาเกิดของเทพเจ้า คัมภีร์ปุราณะและอุปปุราณะ ซึ่งกล่าวถึงอวตารของพระวิษณุ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อวตารของพระนารายณ์ (นารายณ์ 10 ปาง) นับแต่โลกเริ่มอุบัติมาจนถึงปัจจุบัน พระนารายณ์ได้อวตารมาแล้วถึง 9 ปาง ปางที่ 9 คือ ปางที่อวตารลงมาเป็นพระพุทธเจ้า อวตารของพระนารายณ์จะมีทั้งหมด 10 ปาง ปางที่ 10 จะเกิดขึ้นหลังสิ้นสุดกลียุค (คือยุคปัจจุบัน) พระวิษณุจะเสด็จลงมาบนหลังม้าขาว พระหัตถ์ถือพระแสงดาบมีประกายดุจดาวหางลงมาปราบความชั่วร้ายในโลก แล้วสร้างโลกที่บริสุทธิ์ขึ้นใหม่

พระนารายณ์อวตาร พระวิษณุ ทรงมีนามเป็นที่รู้จักกันดีอีกนามหนึ่งคือพระนารายณ์ จะอวตารมาเพื่อปราบยุคเข็ญของโลกเป็นครั้งคราวจนครบ 10 ครั้ง หรือที่รู้กันว่านารายณ์ 10 ปางหรือทศอวตาร (Das Avatar)

อวตาร 10 ปาง ของพระนารายณ์ มีลำดับดังนี้ 1 อวตาร 10 ปาง ของพระนารายณ์ มีลำดับดังนี้ 1. มัตสยาวตาร ลงมาเกิดเป็น ปลา ช่วยเหลือมนุษย์ให้พ้นความตายเมื่อเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ 2. กูรมาวตาร “ เต่า ใช้หลังรองรับภูเขาที่ใช้กวนน้ำในมหาสมุทรให้สำเร็จเป็นน้ำอมฤต 3. วราหาวตาร “ หมู ปราบยักษ์ที่กดโลกให้จมลงใต้บาดาลด้วยการช่วยตุนให้สูงขึ้น 4. นรสิงหาวตาร “ (นรสิงห์) ครึ่งคนครึ่งสิงห์ ปราบยักษ์ที่มารุกรานโลก 3 ครั้ง 5. วามนาวตาร “ คนแคระ (คนค่อม) ทำการปราบยักษ์ให้อยู่ใต้บาดาลปรศุราม (รามสูร) ป้องกันมิให้กษัตริย์ที่ไม่เหมาะสมได้ครองเมือง 6. ปรศุรามาวตาร “ ปรศุราม (รามสูร) ป้องกันมิให้กษัตริย์ที่ไม่เหมาะสมได้ครองเมือง 7. รามาวตาร “ พระราม ปราบยักษ์ราวณะ (ทศกัณฐ์) ในเรื่องรามเกียรติ์ 8. กฤษณาวตาร “ พระกฤษณะ ปราบคนชั่วในมหาภารตยุทธ 9. พุทธาวตาร “ พระพุทธเจ้า ประกาศหลักธรรมช่วยมนุษย์ให้พ้นทุกข์ 10. กัลกิยาวตาร “ พระกัลกี (บุรุษขี่ม้าขาว) ปราบคนชั่ว (อธรรม)สถาปนา ธรรมขึ้นในโลกใหม่

พระศิวะ หรือ พระอิศวร Shiva

พระศิวะ ( พระอิศวร ) -Shiva

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะ (พระอิศวร) Shiva เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะ (พระอิศวร) Shiva เทพผู้สร้างและทำลาย, ปางนาฎราช, เทพแห่งการร่ายรำ มีชื่ออื่น ๆ เรียกอีกหลายชื่อ

มีงูเห่าพันรอบพระศอ(คอ) มีพระจันทร์เป็นปิ่นปักผม ดวงที่ 3 อยู่กลางพระนลาฎ(หน้าผาก) ซึ่งตามปกติจะหลับอยู่ เนื่องจากพระเนตรดวงที่ 3 นี้ มีอานุภาพร้ายแรงมาก หากลืมขึ้นเมื่อใดจะเผาผลาญทุกอย่างให้มอดไหม้ ตรีศูล (Trishul)คล้ายหอกสามง่าม เป็นอาวุธประจำกายพระศิวะ มีงูเห่าพันรอบพระศอ(คอ) สร้อยประคำที่เป็นหัวกะโหลก นุ่งห่มเป็นหนังเสืออันเป็นเครื่องนุ่งห่มของฤๅษี

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โคที่มีนามว่า อุศุภราช คือ โคเผือกที่เป็นพาหนะประจำขององค์พระศิวะโค

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะเป็นเทพที่นิยมประพฤติองค์เป็นโยคีหรือผู้ถือศีล ดังนั้นรูปของพระองค์จึงมักปรากฏเป็นเทพที่ทรงเครื่องแบบที่ค่อนข้างเรียบง่าย เป็นต้นว่า ทรงแต่งองค์คล้ายๆ โยคะหรือฤาษี สยายผมยาวแล้วม่นมวยผมเป็นชฎาบนศีรษะ ทรงนุ่งห่มด้วยหนังกวางบ้าง หนังเสือบ้าง

พระศิวะ Shiva ที่มาของงูพิษที่พระศิวะทรงคล้องคอไว้ประดับองค์เป็นเอกลักษณ์พิเศษนั้น มีผู้ส่งมามาให้พระองค์โดยเฉพาะ คนผู้นั้นก็คือนักบวชผู้นี้มีภรรยาหลายคนแต่บรรดาภรรยาของเขาเกิดมาหลงใหลในเสน่ห์อันล้ำลึกขององค์พระศิวะ ด้วยความไม่พอใจเป็นอย่างยิ่ง นักบวชจึงส่งเสือร้ายตัวโตไปจัดการสังหารพระศิวะ แต่ว่าพระศิวะเป็นกลับเป็นฝ่ายพิชิตเสือด้วยพระหัตถ์ของพระองค์อย่างสบาย ๆ แถมยังฉีกเอาหนังสือมาเป็นที่ปูพื้นไว้รองนั่งอีกด้วย เมื่อส่งเสือมาไม่ได้ผล นักบวชผู้เคียดแค้นแสนริษยาก็ส่งอสรพิษร้ายตัวใหญ่มาจัดการพระศิวะ แต่อสรพิษร้ายกับถูกพระศิวะร่ายเวทมนต์สยบเอาไว้ได้โดยที แล้วพระองค์ก็จับเอางูพิษนั้นมาคล้องคอเป็นเครื่องประดับ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวลึงค์ เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย การบูชาพระศิวะจะกระทำได้โดยการบูชาต่อศิวลึงค์อันเป็นสัญลักษณ์แทนตัวพระศิวะ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวลึงค์ เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู การบูชาพระศิวะจะกระทำได้โดยการบูชาต่อศิวลึงค์อันเป็นสัญลักษณ์แทนตัวพระศิวะ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย ในศาสนสถานของศาสนาฮินดูที่นับถือพระศิวะนั้นเรามักพบเจอศิวลึงค์ปรากฎอยู่เสมอ

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย ในศาสนสถานของศาสนาฮินดูที่นับถือพระศิวะนั้นเรามักพบเจอศิวลึงค์ปรากฎอยู่เสมอ

รูปสีกายเขียวหรือดำทรงเครื่องแบบกษัตริย์สีเหลือง ลักษณะของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหม  มี 4 หน้า รูปสีกายเขียวหรือดำทรงเครื่องแบบกษัตริย์สีเหลือง พระวิษณุ มี 2 กร นุ่งห่มหนังสัตว์ พระเนตรดวงที่ 3 เหนือดวงตาที่ 3 มีรูปพระจันทร์ครึ่งซีก พระศิวะ

พาหนะ เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหม  หงส์เป็นพาหนะ    พระวิษณุ ครุฑเป็นพาหนะ พระศิวะ วัวเป็นพาหนะ

ที่สถิตของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหมสถิตอยู่ ณ พรหมปุระ ในพรหมโลกบนยอดเขาพระสุเมรุ ล้อมรอบด้วยแม่น้ำคงคา พระพรหม  2 แห่ง คือ สวรรค์ไวกูณฐ์ และ ทะเล (เกษียรสมุทร) บนหลังอนันตนาคราช (เรียกว่า นารายณ์บรรทมสินธุ์) พระวิษณุ พระศิวะ ณ เขาไกรลาสมีโคนันที

พระสรัสวดี/สุรัสวดี Saraswati

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี/สุรัสวดี ( Saraswati )

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี ( Saraswati ) พระสุรัสวดี เป็นเทพี(เทพเทวี) ในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่งปัญญา ดนตรี ศิลปะ และนที โดยมีพาหนะเป็นหงส์นกยูง

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี ( Saraswati ) มเหสีของพระพรหม

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี ( Saraswati ) มเหสีของพระพรหม พระสุรัสวดี เป็นเทพีแห่งปัญญา ดนตรี ศิลปะ และนที โดยมีพาหนะเป็นหงส์นกยูง

พระแม่ลักษมี Lakshmi

พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) แห่งความงาม ผู้อำนวยโชคลาภ ความมั่งคั่ง และผู้มีใจเมตตาปรานี

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) มเหสี(พระชายา) ของ พระนารายณ์(พระวิษณุ)

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระนารายณ์ (พระวิษณุ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระนารายณ์ (พระวิษณุ) พระแม่ลักษมี

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) แห่งความงาม ผู้อำนวยโชคลาภ ความมั่งคั่ง และผู้มีใจเมตตาปรานี เมื่อพระวิษณุได้อวตารเป็นพระรามพระแม่ลักษมีก็ได้อวตารตามไปเป็นนางสีดา และเมื่อพระวิษณุอวตารเป็นพระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ได้อวตารเป็นพระนางรัตตะ(พระราธา)

พระแม่อุมาเทวี(แม่อุมา) Uma

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่อุมาเทวี ( Uma ) เป็นมเหสีของพระศิวะ , มี 9 ปางด้วยกัน “ เจ้าแม่กาลี ; Kali ” (ภาค / ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี)  เป็นเทพีกระหายเลือด ดุร้ายมากที่สุด มีมือข้างละแปดมือ มือแต่ละข้างถืออาวุธ  “ เจ้าแม่ทุรคา หรือ ทุรกา ; Durga” (ภาค / ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี) เป็นปางที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร และมีสิงโตเป็นพาหนะ 

พระแม่อุมาเทวี ( Uma ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่อุมาเทวี ( Uma ) เป็นมเหสีของพระศิวะ(พระอิศวร)

“ พระแม่อุมาเทวี ” มี 9 ปางด้วยกัน แต่ปางที่เป็นที่รู้จัก คือ ปางกาตยานี(เจ้าแม่ทุรคา) และ ปางกาลราตรี(เจ้าแม่กาลี)

“ พระแม่กาลี ” ( ภาค/ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี )   เป็นเทพีกระหายเลือด มีมือหลายคู่มากมือแต่ละข้างถืออาวุธ เป็นปางดุร้าย ชนะมาร ชนะทุกสิ่ง พระแม่ปางนี้ถือเป็นสัญลักษณ์มหามงคลของชาวอินเดีย เป็นปางปราบมารที่ดูมีความดุร้ายมาก เป็นปางที่ทรงพลังอำนาจมากที่สุดในการทำลายอสูร และความชั่วทั้งปวง

“ พระแม่กาลี ” ( ภาค/ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี )   เป็นเทพีกระหายเลือด มีมือหลายคู่มากมือแต่ละข้างถืออาวุธ เป็นปางดุร้าย ชนะมาร ชนะทุกสิ่ง พระแม่ปางนี้ถือเป็นสัญลักษณ์มหามงคลของชาวอินเดีย เป็นปางปราบมารที่ดูมีความดุร้ายมาก เป็นปางที่ทรงพลังอำนาจมากที่สุดในการทำลายอสูร และความชั่วทั้งปวง

“ พระแม่ทุรคา ” พระแม่ทุรคา หรือ พระแม่ทุรกา เป็นอีกปางหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี ที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร นับว่าเป็นปางที่สำคัญและยิ่งใหญ่ไม่น้อยไปกว่าปาง พระแม่กาลี มีความเหี้ยมหาญ แข็งแกร่ง มีพละกำลังมาก แต่ไม่ดุร้ายน่ากลัวเท่ากับปางพระแม่กาลี รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะสิงโต

พระแม่ทุรคา หรือ พระแม่ทุรกา เป็นอีกปางหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี ที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร “ พระแม่ทุรคา ”

มเหสีของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหม  พระสรัสวดี พระวิษณุ พระแม่ลักษมี พระศิวะ พระแม่อุมาเทวี

น่ารัก นุ่มนวล อ่อนช้อย ดูอบอุ่น น่าเกรงขาม ดูเฉียบขาด มเหสีของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลักษณะ เป็นตัวแทนแห่ง สุขุม นิ่ง เยือกเย็น ฉลาด พระสรัสวดี ปัญญาความรู้  พระแม่ลักษมี น่ารัก นุ่มนวล อ่อนช้อย ดูอบอุ่น ความร่ำรวย ความมีอำนาจ พระแม่อุมา น่าเกรงขาม ดูเฉียบขาด

พระกฤษณะ Khishna

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระกฤษณะ ; Krishna เป็นอวตารปางที่ 8 ของพระวิษณุ สัญลักษณ์แห่งการรักษาต่อสู้อธรรม นิยมทำเป็นรูปประทับคู่กับนางโคปี (หญิงเลี้ยงวัว) พระกายสีดำมีแววหางนกยูงประดับบนเศียร

พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ Ganesha

พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) เทพเจ้าแห่งความสมบูรณ์ ความสำเร็จ และเจ้าแห่งศิลปะเป็น

พระพิฆเนศ

พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) พระพิฆเนศเป็นลูกของ พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี

พระพิฆเนศเป็นลูกของ พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) พระพิฆเนศเป็นลูกของ พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะ พระแม่อุมาเทวี ลูก พระคเณศ พระขันธกุมาร

เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่สตี พระแม่เทวีที่ทำความดี แสดงความจงรักภักดีต่อสามีโดยเผาพระองค์ตามสามีของท่าน ความศรัทธานี้ทำให้เกิดพิธีสตีในเวลาต่อมา ( การที่สตรีต้องกระโดดเข้ากองไฟตายตามสามี )