บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ( File System)
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
Security and Integrity
Entity-Relationship Model
ฐานข้อมูลและการออกแบบฐานข้อมูล
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
ส่วนที่ 4 System Design การออกแบบระบบ.
Databases Design Methodology
Enhanced Entity-Relationship Model
– Web Programming and Web Database
Structured Query Language (SQL)
Chapter 3 แบบจำลองข้อมูล : Data Models
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานในการออกแบบ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การแปลง E-R เป็น Table.
Creating Database With Structure Query Language (SA&D-8)
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
The Relational Data Model
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
Data Modeling Using the Entity-Relationship Model
แบบจำลองข้อมูล (Data Model)
การออกแบบฐานข้อมูล ด้วย E-R Model
Introduction to Database
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
DATABASE RELATIONAL MODEL ER DIAGRAM.
CHAPTER 11 Database Design. 2 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Agenda Data Organization Relational Database Entity,
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง.
Chapter 2 Relational Database
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
Normalization Lecture 9.
Chapter 3 : แบบจำลองฐานข้อมูล (Data Model)
Chapter 5 Database Design
Integrity Constraints
บทที่ 4 โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ Relational (Relational Database Model)
Chapter 5 Part 3.
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
Database Planning, Design, and Administration
Data Management (การจัดการข้อมูล)
การเปลี่ยนจาก E-R Diagram เป็นโมเดลเชิงสัมพันธ์ (ตารางข้อมูล)
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Chapter 6 : แบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Model)
บทที่ 5 การควบคุมความถูกต้องให้กับข้อมูล (Data Integrity)
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
7 Entity-Relationship Modeling แผนภาพความสัมพันธ์ ORACLE MS SQL SERVER
Chapter 6 Information System Development
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 รูปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ The Relational model
Integrated Mathematics
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
제 10장 데이터베이스.
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
Database Design & Development
Data resource management
[ บทที่ 2 ] กรอกแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database

ทบทวน ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล จัดการปัญหา ความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Data Redundancy) จัดการปัญหา ความขัดแย้งของข้อมูล (Data Inconsistency) มีความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence) มีมาตรฐานเดียวกัน (Standard) มีความปลอดภัย และ มุมมองผู้ใช้ (Security and View)

ประวัติของแบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แบบจำลองฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ พัฒนาโดยนาย อี เอฟ คอดด์ (E.F.Codd) ในปี ค.ศ.1970 ในเอกสารงานวิจัยชื่อ “A relational model of data for large shared data banks” ซึ่งวัตถุประสงค์หลัก ของแบบจำลองฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ คือ 1. มีคุณสมบัติความเป็นอิสระของข้อมูล (Data independence) สูง 2.และสามารถจัดการในส่วนหลกัของความหมายของคำ (Data semantic) 3. ความคงเส้นคงวาของข้อมูล (Consistency) 4. แก้ปัญหาความซ้ำซ้อนของข้อมูล (Redundancy problems) ได้โดยใช้การจัด บรรทัดฐานรีเลชัน

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ รีเลชั่น: นักศึกษา Relation: Student

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ รีเลชั่น: นักศึกษา Relation: Student

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ รีเลชั่น: นักศึกษา Relation: Student 1 2 3 4 5

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ 1 2 3

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์

โครงสร้างของข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relation = { A1 , A2 , A3 , … An } นักศึกษา = { รหัส , ชื่อ , ที่อยู่ , โทรศัพท์ , อายุ }

กุญแจ KEY นักศึกษา ค้นหา ข้อมูลจากอะไร? อาจารย์อยากทราบว่า นักศึกษารหัส 54889956 คือใคร? อยากทราบว่าค่าไฟที่บ้าน เดือน มีนาคม 2559 กี่บาท?

กุญแจ KEY คีย์ (Key) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ช่วยในการกำหนดความแตกต่างและความสัมพันธ์ของข้อมูลในตาราง หรือรีเลชัน และสามารถอธิบายความหมายของคีย์ที่ใช้ในแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์

กุญแจ KEY มีสิทธิ์เป็น เลือกมาเป็น

กุญแจ KEY

กุญแจ KEY

กุญแจ KEY

กุญแจ KEY PK FK

กุญแจ KEY

กุญแจ KEY

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema) สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema) หรือแบบจำลองแนวความคิด (Conceptual model) คือ กลุ่มของสคีมา ทั้งหมดของฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย มีกลุ่มสคีมา ของนักศึกษา อาจารย์ คณะ รายวิชา กลุ่มเรียน อาคาร เป็นตน

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema) รีเลชัน นักศึกษา (รหัส, ชื่อ, ที่อยู่, เพศ, หมายเลขบัตรประชาชน) รีเลชัน อาจารย์ (ชื่อ, นามสกุล,รหัส, วันเดือนปีเกิด, ที่อยู่ เพศ, ตำแหน่ง, เงินเดือน, รหัสคณะ) รีเลชัน คณะ (รหัส, ชื่อคณะ) รีเลชัน รายวิชา (รหัสวิชา, ชื่อวิชา, หน่วยกิต)

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema) รีเลชัน นักศึกษา (รหัส, ชื่อ, ที่อยู่, เพศ, หมายเลขบัตรประชาชน) ที่อยู่ เพศ ชื่อ หมายเลขบัตรประชาชน รหัส นักศึกษา

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema)

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema)

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema) รหัสลงทะเบียน รหัสนักศึกษา รหัสรายวิชา ภาคเรียน ปีการศึกษา รหัสผู้สอน ผลการเรียน 0000001 4112400001 411000 1 2559 32140 A

สคีมาแนวความคิด (Conceptual schema) PK FK รหัสลงทะเบียน รหัสนักศึกษา รหัสรายวิชา ภาคเรียน ปีการศึกษา รหัสผู้สอน ผลการเรียน 0000001 4112400001 411000 1 2559 32140 A

ข้อบังคับของแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relational Constraints มีไว้สำหรับการกำหนดให้สคีมามีความถูกต้อง และเมื่อสคีมาถูกต้องจะส่งผลให้การจัดการข้อมูลมีความถูกต้องตามไปด้วย สุดท้าย ข้อมูล ที่ถูกจัดเก็บภายในฐานข้อมูล จะมีประสิทธิภาพสูง

ข้อบังคับของแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relational Constraints ข้อบังคับที่เกี่ยวกับโดเมน (Domain Constraint) ข้อบังคับที่เกี่ยวกับคีย์ (Key Constraint) ข้อบังคับที่เกี่ยวกับความบูรณภาพ (Integrity Constraint) ข้อบังคับความบูรณภาพของเอนทิตี (Entity integrity constraint) ข้อบังคับความบูรณภาพของการอ้างอิง (Referential integrity constraint)

ข้อบังคับของแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relational Constraints ข้อบังคับที่เกี่ยวกับโดเมน (Domain Constraint) เป็นข้อบังคับที่เกี่ยวกับการกำหนดค่าของแต่ละลักษณะประจำ (Attribute) ใหสอดคล้องกับค่าที่กำหนดไว้ในโดเมน และค่าของแต่ละลักษณะประจำนั้นจะต้องมี ค่าๆ เดียว (Atomic) ตามค่าที่กำหนดไว้ในโดเมน

ข้อบังคับของแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relational Constraints 2. ข้อบังคับที่เกี่ยวกับคีย์ (Key Constraint) ลักษณะประจำใดที่เป็นกุญแจหลักห้ามซ้ำ เพิ่มใหม่ (INSERT) สมหญิง, ดีงาม, 21564, 8/5/1983, N/A, หญิง, อาจารย์2, 10,000, 3 เพิ่มใหม่ (INSERT) สมหญิง, ดีงาม, 54423, 8/5/1983, N/A, หญิง, อาจารย์2, 10,000, 3

ข้อบังคับของแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relational Constraints 3.1 ข้อบังคับความบูรณภาพของเอนทิตี (Entity integrity constraint) กำหนดว่า ห้าม Primary Key เป็นค่าว่าง สมหญิง, ดีงาม, 54423, 8/5/1983, N/A, หญิง, อาจารย์2, 10,000, 3

ข้อบังคับของแบบจำลองข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ Relational Constraints 3.2 ข้อบังคับความบูรณภาพของการอ้างอิง (Referential integrity constraint) กำหนดว่า FK จะต้อง ตรงกับ PK และ PK เป็นค่าว่างไม่ได้