บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ Excellence Center : SRITHANYA HOSPITAL แพทย์หญิงสมรัก ชูวานิชวงศ์
Self-Help คนที่มีปัญหาร่วมกันช่วยเหลือกัน ซึ่งนักวิชาชีพไม่สามารถจัดให้ได้ (promotion of empowerment, ongoing friendship, more open and honest, role model)
Peer support - เป็นระบบการให้และรับความช่วยเหลือบนหลักความเคารพ, รับผิดชอบร่วมกัน และเห็นชอบร่วมกันในสิ่งที่เป็นประโยชน์ peer support ไม่ตั้งอยู่บนแนวคิดจิตเวชศาสตร์ หรือเกณฑ์การวินิจฉัยโรค แต่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจสถานการณ์ของอีกคน ด้วยความเข้าอกเข้าใจผ่านการแบ่งปัญประสบการณ์ด้านอารมณ์และความเจ็บปวดด้านจิตใจ
- เมื่อบุคคลเห็นว่าตนเหมือนกับใคร ก็จะรู้สึกเชื่อมโยงผูกพัน ซึ่งความผูกพันนี้มีความลึกซึ้ง เข้าใจมาก เพราะมีประสบการณ์ร่วม เมื่อคนหนึ่งสามารถเป็นตัวของตัวเอง อยู่กับอีกคนหนึ่งโดยปราศจากความสัมพันธ์ที่มีความกดดันแบบผู้เชี่ยวกับคนไข้ ความสัมพันธ์ที่ไว้วางใจกันก็เกิดขึ้น คนทั้งสองจึงสามารถแย้งอีกคนได้อย่างเคารพเมื่อไม่เห็นด้วย สิ่งนี้จึงเอื้ออำนวยให้สมาชิกของชุมชน peer ลองแสดงพฤติกรรมใหม่ต่ออีกคน และก้าวข้ามอัตมโนทัศน์เดิม ที่ก่อร่างมาจากความบกพร่องและคำวินิจฉัย
ทฤษฎีที่ใช้กับ peer support Social learning theory: การเป็นต้นแบบพฤติกรรมที่ต้องการ Social comparison theory: คนเราชอบสร้างความสัมพันธ์กับคนที่มีประสบการณ์คล้ายกัน Experiential knowledge: การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เข้าใจได้มากกว่าจากการสังเกตหรือค้นคว้า
Helper-theory principle: มีประโยชน์สำหรับผู้ที่ได้ช่วยเหลือคนอื่น Social support theory: คนในสังคมมีการช่วยเหลือกันหลายด้าน ได้แก่ ด้านอารมณ์ อุปกรณ์เครื่องมือ ข้อมูลข่าวสาร มิตรภาพ และการตรวจสอบ
ประวัติ Self-Help Movement WANA (We Are Not Alone) Fountain House Alcoholics Anonymous (AA) Recovery Inc.: Share stories in four steps GROW Inc.: Blue Book personal growth and problem-solving strategies
Mid-1970s NIMH sponsored a conference -Peer support ถูกกำหนดให้เป็น 1 ใน 10 essential ingredients of an ideal community support system The final report of the President’s New Freedom Commission on Mental Health (2003), recommend the use of peer support to promote recovery-oriented services
การทำงานร่วมกันระหว่างผู้ให้และผู้ใช้บริการเพื่อสร้างบริการของผู้ใช้บริการเอง เป็นกระบวนการ 5 ระยะ Investment/ nurturance Initiative/ delegation Rebellion/ dialogue Accommodation/ collaboration Self-help/ consultation
รูปแบบของโปรแกรมที่ดำเนินโดย consumer Drop-in centers Peer support and mentoring programs Education and advocacy programs
แผนการพัฒนา peer ในประเทศไทย กำหนดระดับ Person in recovery (PIR) – Psychoeducation 2. PIR – work through Wellness Recovery Action Plan (WRAP) 3. peer-contribution (self-help group) 4. peer support 5. Peer support specialist
ผลิตคู่มือ ทำหลักสูตร จัดอบรม ผลักดันนโยบาย สร้างบริการ