อุปกรณ์ระบบเสียง (Sound System Equipment)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รู้จักกับเทคโนโลยี RFID เบื้องต้น
Advertisements

X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ระบบการจัดเก็บในคลังสินค้า
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
INC 112 Basic Circuit Analysis
PARITY GENERATOR & CHECKER
เอ้า....มองย้อนดูกัน ไร้สาระลามกจกเปรต  ทั้งอุบาทว์น่าสมเพชทั้งหลาย สั่งรุ่นน้องเหมือนเป็นวัวเป็นควาย เป็นรุ่นพี่สมองคิดได้เท่านั้นหรือ  รุ่นน้องๆปีหนึ่งต้องปรับตัว.
Chapter 3 Simple Supervised learning
 Mr.Nitirat Tanthavech.  HTML forms are used to pass data to a server.  A form can contain input elements like text fields, checkboxes, radio-buttons,
Mainboard or Motherboard
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
Ch 12 AC Steady-State Power
ANSI/ASQ Z1.4 Acceptance Sampling Plans
Electronics for Analytical Instrument
จัดสเปคคอมพิวเตอร์เพื่องานด้านMultimedia และเล่นเกม+ใช้งานทั่วไป
เรื่อง การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 The nonconformities chart controls the count of nonconformities ( ข้อบกพร่อง หรือตำหนิ ) within the product or service.  An item is classified as a.
เนื้อหารายวิชา Power System Analysis ปีการศึกษา 1/2549
ADC & UART.
COMPANY PROFILE EXPERTISE ‘S PROMISE LOYALTY TO BUILD CO.,LTD 130/153 M.6 T.BANSUAN A.MUANG CHONBURI Tel : Fax :
CHAPTER 18 BJT-TRANSISTORS.
NMS remote monitor power supply. การต่อสาย LAN ผ่าน BBU 2G เพื่อทำ Remote monitor จาก OMC - สาย LAN แบบพินตรง “Direct PIN” ต่อจาก BBU 2G – UPEU (Port.
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
Page : Stability and Statdy-State Error Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Stability and Steady-State Error.
แสง เสียง และรังสี ในชีวิตประจำวัน
การสื่อสารข้อมูล.
2.1 Spanning Tree Protocol
Chapter 8: Single-Area OSPF
Wireless Campus Network
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE, NU
เครื่องมือวัดดิจิตอล
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
Ultra hi speed Internet (FTTB : Fiber to the Building)
กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.
สื่อประเภทเครื่องฉาย
เซ็นเซอร์ และ ทรานสดิวเซอร์ Sensor and Transducers
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
Alternate Current Bridge
เครื่องวัดแบบชี้ค่าแรงดันกระแสสลับ AC Indicating Voltage Meter
เครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
เทคโนโลยี 3G อาจารย์ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 2 Input & Output Devices
Control Charts for Count of Non-conformities
การติดต่อสื่อสารของคอมพิวเตอร์
เครื่องวัดที่ออกแบบให้มีการเบี่ยงเบนของเข็มชี้ที่คงที่ (ไม่แกว่ง)
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
Air Carbon Arc Cutting/Gouging
งานไฟฟ้า Electricity.
Yale Intrusion Alarm intrusion Introduction
ตัวอย่างการต่ออุปกรณ์ต่อพ่วงเข้ากับ PIC16F877A
Introduction to Analog to Digital Converters
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
หน่วยที่ 2 ระบบมัลติเพล็กซ์ จุดประสงค์การสอน
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 3 ระบบโครงข่ายสื่อสาร จุดประสงค์การสอน
Multimedia Production
ไฟแสดงสถานะและไฟเตือนต่างๆ
บทที่ 7 พัลส์เทคนิค
Control Charts for Count of Non-conformities
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
โครงการพัฒนาระบบสื่อสารด้วยเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระยะที่ 2
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Programmable Logic Control
Pulse Width Modulation (PWM)
เสียง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปกรณ์ระบบเสียง (Sound System Equipment) ดำรัส อ่อนเฉวียง

เครื่องขยายเสียง(Amplifier)

ภาคขยายสัญญาณ (Amplifier)

ภาคขยายสัญญาณเป็นภาคที่รับสัญญาณไฟฟ้าความถี่เสียง จากภาคสัญญาณเข้า แล้วนำมาปรับแต่งและขยายสัญญาณให้มีความแรงขึ้นเพื่อเตรียมส่งต่อไปยัง ภาคสัญญาณออก ภาคขยายแบ่งออกเป็น 2 วงจร คือ

วงจรก่อนการขยาย (Pre amplifier) เนื่องจากสัญญาณที่ถูกส่งเข้ามาจากภาคสัญญาณเข้ามีความแตกต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง เช่น ไมโครโฟน เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเล่นคอมแพกดิสก์ เป็นต้น ดังนั้นภาคก่อนการขยายจะช่วยในการปรับแต่งเสียงให้มีสัญญาณมากน้อยพอๆ กัน ก่อนจะส่งไปวงจรขยายกำลัง

Trio-TR-515 PK

วงจรขยายกำลัง (Power Amplifier) ทำหน้าที่รับสัญญาณจากวงจรก่อนขยาย (Pre Amplifier) เข้ามาเพื่อทำการขยายให้มีกำลังแรงเพิ่มขึ้น อุปกรณ์ที่ใช้ในขั้นตอนนี้ ก็ได้แก่ เครื่องขยายเสียง (Amplifier) นั่นเอง

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามวัสดุที่ใช้ทำภาคขยายเสียง หลอดสูญกาศ(vacum tube)

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามวัสดุที่ใช้ทำภาคขยายเสียง ทรานซิสเตอร์(transistor)

ลักษณะภายในของเครื่องขยายเสียงแบบทรานซิสเตอร์

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามวัสดุที่ใช้ทำภาคขยายเสียง อุปกรณ์รวม(IC/chip)

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามวัสดุที่ใช้ทำภาคขยายเสียง แบบผสม(Mixed)

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตาม Impedance High- Impedance Amplifier ระบบเสียงแบบนี้ พบเห็นโดยทั่วไปในงานต่างๆ ที่ต้องการใช้การกระจายเสียงสู่ผู้ฟังจำนวนมาก เช่น งานกลางแจ้ง, ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนถึง ในห้องประชุม เป็นต้น อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น ลำโพงจะต้องมี Matching ขนาดรับกำลังขยายส่วนมากไม่เกิน30 วัตต์แล้วแต่พื้นที่บางพื้นที่ๆฝ้าเพดานต่ำใช้แค่ 3 วัตต์ก็ดังเพียงพอแล้ว โดยใช้เครื่องขยายเสียงแบบที่มีไฟเลี้ยงขนาด 70/100 โวล์ท ลายน์ เดินสายไกลแค่ใหนก็ไม่มีผลต่อการฟังเสียง เพราะระดับความดังของเสียงจะเท่ากันหมด

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตาม Impedance Low- Impedance Amplifier เครื่องเสียงในระบบเสียงเพิ่อการแสดง หรือกิจกรรมกลางแจ้ง เป็นระบบที่ยุ่งยากซับซ้อน ส่วนใหญ่จะใช้บริษัทฯ ผู้ให้เช่าเป็นหลัก ที่มีความชำนาญ ระบบนี้จะพบเห็นทั่วไปในเวทีคอนเสิรต์ หรือ งานที่จัดกิจกรรม ของห้างร้าน ราคาประหยัดครับ Peak Hi-end (P-series)

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามกำลังการขยายเสียง PMPO (Peak Music Power Output) เป็นหน่วยวัดของกำลังขับเสียงระดับสูงที่สุดจากทั้งช่องเสียงซ้าย ( L ) และขวา ( R ) รวมกันสำหรับการขับเสียงในระยะเวลาสั้นๆ โดยไม่ทำให้เสียงเพี้ยน กำลังเสียงสูงสุดที่เครื่องเสียงจ่ายมาได้ ณ ช่วงสั้น ๆ มิใช่กำลังเสียงที่แท้ Home Theatre AN-707A

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามกำลังการขยายเสียง RMS (Root Mean Square) หมายถึงประสิทธิภาพหรือค่าเฉลี่ยของกำลังเสียงที่ขับอย่างต่อเนื่อง หน่วยวัด RMS เป็นตัวบอกที่ดีกว่าสำหรับกำลังขับของเครื่องขยายเสียง RMS คือ กำลังเสียงที่แท้จริงหรือกำลังเสียงเฉลี่ย ใช้บ่งบอกถึงความดังเสียงของเครื่องเสียงนั้นๆ DMA-360 Series 2 350 Watts RMS MTX TN250/1 100 watts RMS

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของทิศทาง Mono Amplifier ภาคขยายสัญญาณของเพาเวอร์แอมป์ที่ขยายสัญาณแบบโมโน และบล็อคทั้งสองดังกล่าว แยกกันเป็นอิสระ และนำเมื่อ สัญญาณทั้งสองดังกล่าวมารวมกัน สัญญาณที่ได้คือ สเตอริโอ

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของทิศทาง stereo,(Dual mono=monoX2)            TEAC Stereo Amplifier QSC USA.1300 Stereo

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของทิศทาง multi channels ; 3,4,or 5 Channels            Yamaha YDS-10

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย Class คือ ลักษณะจำเพาะหรือ แบบแผนในการออกแบบวงจรภาคขยายเสียงของ class A เพาเวอร์แอมป์ซึ่งทำงานโดยวงจรแต่ละซีกขยายสัญญญาณบวกและลบพร้อมๆกัน เพื่อลดการสวิทชิ่ง ทำให้มีความเพี้ยนน้อย ให้คุณภาพเสียงดีมาก แต่เครื่องมักจะร้อนได้ง่าย ทรานซิสเตอร์ ในภาคขยายขาออกจะทำงานเต็มที่อยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะมีสัญญาณขาเข้า มากหรือน้อยเพียงใดในภาคขาออก ทรานซิสเตอร์จะ ทำงานอย่างเต็มที่อยู่ตลอดเวลา จึงทำให้เครื่องมีความร้อนสูง ถึง สูงมาก   

SA-250 MkIV – Power Amplifier class A Aleph X-100

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย Class B เพาเวอร์แอมป์ที่ทำงานโดยวงจรแต่ละซีก ขยายสัญญาณเฉพาะบวกหรือลบเท่านั้น มีประสิทธิภาพสูง แต่คุณภาพเสียงอาจไม่ดีนัก เพาเวร์แอมป์ทั่วไปจะทำงานใน Class A-B คือ ไม่มีไฟเลี้ยงอยู่ระดับหนึ่ง พอจะเป็น Class A ได้ในช่วงที่ใช้กำลังขับน้อยๆ จะจัดแบ่งการทำงานของทรานซิสเตอร์ในภาขยายขาออก แบ่งออกเป็น  2  ช่วง คือ ด้านหนึ่งทำงานในช่วง  +  อีกด้านหนึ่งทำงานในช่วง  - คือแบ่งกันทำงาน จึงทำให้มีประสิทธิภาพค่อนข้างสูง แต่ก็จะมีข้อด้อย คือ ช่วงที่สลับการทำงาน ระหว่าง ช่วง + และ - การทำงานจะไม่ราบเรียบ อาจเรียกได้ว่ามีความพร่าเพี้ยน เรียกกันว่า cross over distortion คือ ความเพี้ยนที่เกิดจากช่วงสลับการทำงานของ ทรานซิสเตอร์

MESA BOOGIE STILETTO DEUCE STAGE II SOLO HEAD 100W

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย Class AB คือการรวมเอาระหว่างจุดหรือข้อดีและข้อด้อย ของทั้ง CLASS A  และ  CLASS Bเข้าด้วยกัน นั่นคือ ในช่วงเวลาที่มีสัญญาณขาเข้าเบา ๆ   วงจรภาคขาออกจะทำงานในแบบ CLASS A แต่เมื่อสัญญาณขาเข้าแรงขึ้น วงจรภาคขาออกจะทำงานในแบบ CLASS Bจึงทำให้เครื่องขยายเสียงในลักษณะนี้ มีความเพี้ยนต่ำ และมีประสิทธิภาพสูงจึงเป็นที่นิยมมากที่สุดในวงการเครื่องเสียงทั้งหมด

POWER ZULEX รุ่น ZA-1100.4 Sherman APO-600

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย CLASS D อินพุทถูกแปลงเป็นออดิโอ เวฟฟอร์ม ไบนารี 2 สเตท ความแตกต่างเป็นเรื่องสำคัญ เพราะ CLASS D ออกแบบให้ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ แทนที่จะต้องเสียกำลังไปในทรานซิสเตอร์ เอาท์พุทก็จะถูกไม่เปิดตลอด ไม่มีโวลเทจเสีย ก็ปิดตลอด ส่งผลให้ประสิทธิภาพเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ อินพุทออดิโอถูกแปลงเป็น PWM (PULSE WIDULATED) ถือเป็นเครื่องเสียงที่มีประสิทธิภาพสูงสุด แต่เรื่องคุณภาพเสียง ความสดใสจะเป็น จุดด้อย แต่จะเหมาะมากสำหรับผู้ที่ต้องการความดังสูง ๆ มักมีปัญหาเรื่องการกวนของความถี่ ในระดับคลื่นวิทยุ (Radio Frequency Interference - RFI)

Power Amp D Class AQ-A1000 600 W Class D Amplifier Module

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย CLASS T เป็นการเรียกขานตามวงจรควบคุมการทำงานที่ผลิตโดย บริษัท ไทรพาธ(Tripath) ซึ่งพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมาเพื่อลดจุดด้อยของ CLASS D ที่ไม่มีเสถียรภาพในความถี่สูง ใช้ความสามารถในเชิงดิจิตอลเข้ามาช่วยเพิ่มความถี่ของการทำงานแบบ switching ทำให้switching ที่ความถี่สูงขึ้นถึงในระดับความถี่ประมาณ 85 KHz จากนั้นจึงใช้วงจรกรองความถี่ แบบ Low passที่ประมาณ 40 KHz ทำให้ได้เครื่องขยายเสียงแบบ CLASS D ที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพจนถึงความถี่ ที่สูงกว่า 20 KHz

Bigjoe III True Digital Amplifier Yulong T-Amp

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย CLASS G เป็นเครื่องขยายเสียงที่ใช้ไฟเลี้ยงตั้งแต่ 2 ชุด ขึ้นไป และจะทำงานโดยภาคขยายเสียงจะปรับไปใช้ไฟเลี้ยงที่สูงขึ้นหากสัญญาณขาเข้ามีความแรงมากขึ้น จึงทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีปัญหาในช่วงการเปลี่ยนจากภาคจ่ายไฟ ที่จะปรับใช้ในแต่ละความแรงของสัญญาณ มีประสิทธิภาพเทียบเท่า CLASS D หรือ CLASS T

SAMSON SX2800 – Power Amplifier NHT Evolution A1

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย CLASS H คือ การประยุกต์ CLASS G ขึ้นมาให้ภาคจ่ายไฟปรับแรงดันได้ตลอดเวลา ตามความแรงของสัญญาณที่เข้ามา ซึ่งภาคจ่ายไฟแบบนี้ คือ ต้นแบบของหลักการในภาคจ่ายไฟของ CLASS D  แต่การจัดวงจรภาคขาออกจะเหมือนกับวงจรแบบ CLASS AB

Sherman APO-1000

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะการจัดวงจรขยาย CLASS E ทำงานโดยใช้หลักการ switching แบบอ่อน ๆ คือไม่ได้ใช้ลักษณะของ switching เป็นหลักในการขยายสัญญาณโดยจะปล่อยให้มีสัญญาณหรือกระแส ต่ำ ๆ กระตุ้นการทำงานของภาคขาออกอยู่ตลอดเวลา เพื่อลดความเพี้ยนที่เรียกว่า crossover distortion หรือ switching distortion ขณะเดียวกันถือได้ว่ามีการออกแบบวงจรจ่ายไฟที่ดีมาก ทำให้มีประสิทธิภาพสูงเช่นกัน

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน PA(public address amplifier) เครื่องเสียงที่ใช้ในระบบเสียงประกาศสาธารณะ มี 2 ระบบ คือ

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน High- Impedance Amplifier ระบบเสียงแบบนี้ พบเห็นโดยทั่วไปในงานต่างๆ ที่ต้องการใช้การกระจายเสียงสู่ผู้ฟังจำนวนมาก เช่น งานกลางแจ้ง, ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนถึง ในห้องประชุม เป็นต้น อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น ลำโพงจะต้องมี Matching ขนาดรับกำลังขยายส่วนมากไม่เกิน30 วัตต์แล้วแต่พื้นที่บางพื้นที่ๆฝ้าเพดานต่ำใช้แค่ 3 วัตต์ก็ดังเพียงพอแล้ว โดยใช้เครื่องขยายเสียงแบบที่มีไฟเลี้ยงขนาด 70/100 โวล์ท ลายน์ เดินสายไกลแค่ใหนก็ไม่มีผลต่อการฟังเสียง เพราะระดับความดังของเสียงจะเท่ากันหมด

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Low- Impedance Amplifier เครื่องเสียงในระบบเสียงเพิ่อการแสดง หรือกิจกรรมกลางแจ้ง เป็นระบบที่ยุ่งยากซับซ้อน ส่วนใหญ่จะใช้บริษัทฯ ผู้ให้เช่าเป็นหลัก ที่มีความชำนาญ ระบบนี้จะพบเห็นทั่วไปในเวทีคอนเสิรต์ หรือ งานที่จัดกิจกรรม ของห้างร้าน ราคาประหยัดครับ Peak Hi-end (P-series)

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Home use เป็นระบบเสียงที่ใช้ ดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะ  ราคาไม่แพงมากนัก เหมาะกับพื้นที่ขนาดเล็ก วัตต์ที่เขียนไว้ 3500 วัตต์ เป็นวัตต์ หลอก แหม ใครฟัง 3500 วัตต์เต็ม

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Megaphone(โทรโข่ง)

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Mobile amplifier

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Wall mounted amplifier

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Meeting amplifier

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Music use

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Powered Mixer เครื่องขยายเสียงนี้ไปอยู่ในเครื่องผสมสัญญาณเสียง(audio mixer) จึงเรียกเครื่องผสมสัญญาณเสียงนี้ว่า “Power Mixer”

ประเภทของเครื่องขยายเสียง แบ่งตามลักษณะของการใช้งาน Portable Amplifier/ Active Loudspeaker

ระบบขยายเสียง

ระบบขยายเสียง Pre-amplifier ทำหน้าที่รับสัญญาณไฟฟ้าแล้วควบคุมสัญญาณไฟฟ้าให้คงที่

ระบบขยายเสียง INTER-M PAM-480A TC Electronic Konnekt6 Tone control amplifier ทำหน้าที่ปรุงแต่งสัญญาณไฟฟ้าให้ไพเราะ เช่น ปรุงแต่งเสียงทุ้ม (Bass) ปรุงแต่งเสียงแหลม (Table) INTER-M PAM-480A   TC Electronic Konnekt6  

ระบบขยายเสียง BOSCH PLN‑1P1000 Power/main amplifier Power Amp ทำหน้าที่ขยาย สัญญาณไฟฟ้าที่ปรุงแต่งแล้วให้ มีความแรงของสัญญาณเพิ่มขึ้น ก่อนส่งไปยังลำโพง BOSCH PLN‑1P1000  

ระบบขยายเสียง Universal Power Supply (PDPS-1) CSI 4040-XIZ

การใช้เครื่องขยายเสียง ดำรัส อ่อนเฉวียง

ส่วนประกอบด้านหลังของเครื่องขยายเสียง ได้แก่ ช่องรับสัญญาณเข้า ใช้เสียบ Jack ต่อสัญญาณที่มาจากภาคสัญญาณเข้า เช่น ไมโครโฟน เครื่องเล่นแผ่นเสียง เป็นต้น จุดสำหรับต่อสัญญาณออก ใช้ต่อสายเพื่อส่งกำลังไฟฟ้าความถี่เสียงไปยังภาคสัญญาณออก อันได้แก่ ลำโพง นั่นเอง สายไฟฟ้าเข้าเครื่อง เป็นสายต่อเพื่อใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ซึ่งในประเทศไทยจะใช้ไฟฟ้า 220 Volts

ส่วนประกอบด้านหน้าของเครื่องขยายเสียง ได้แก่ - ปุ่มควบคุม (Control Knobs) Mic.1 Mic.2 Mic.3 - ปุ่มควบคุม Phono เป็นปุ่มควบคุมสัญญาณที่มาจากเครื่องเล่นแผ่นเสียง (Phonograph) - ปุ่มควบุคม Aux. เป็นปุ่มควบคุมสัญญาณที่มาจาก Auxiliary - ปุ่มควบคุมการปรับแต่งเสียงทุ้ม (Bass) และแหลม (Treble) หรือปุ่ม Tone Control - ปุ่มควบคุมการขยายกำลัง (Master volume) ให้เสียงที่ออกทางลำโพงดังเบาตามปุ่มนี้เป็นสำคัญ - สวิตช์ไฟฟ้า (Switch) ใช้เปิด (On) เมื่อต้องการเริ่มใช้งาน และใช้ปิด (Off) เมื่อเลิกใช้งาน - หลอดไฟหน้าปัด (Pilot lamp) หลอดไฟฟ้าแสดงให้ทราบว่า มีไฟฟ้าเข้าเครื่องฯ หรือไม่

คู่มือการใช้เครื่องขยายเสียง Front panel 1. Power switch 2. Cooling vents 3. Gain control (Channel 1) 4. CLIP and SIGNAL indicator LEDs, both channels 5. Gain control (Channel 2) 6. POWER indicator LED

คู่มือการใช้เครื่องขยายเสียง Rear panel 1. Barrier strip input 2. XLR inputs, Channels 1 and 2 3. Configuration switch 4. Configuration switch chart 5. TRS inputs, Channels 1 and 2 6. Speakon output, Channel 1 plus Channel 2 7. Speakon output, Channel 2 8. Binding post outputs, Channels 1 and 2 9. Fan 10. Serial number label 11. IEC connector for AC power cable 12. Circuit breaker

Input Channels

Output Channels

Output Channels

การใช้เครื่องขยายเสียง พิจารณาระบบเสียงที่จะใช้งาน ตรวจสอบระบบไฟฟ้า ของเครื่องขยายเสียง ต่อสายลำโพงให้เรียบร้อย ให้ถูกขั้ว ถูกเฟส ควรใช้สายลำโพงโดยเฉพาะ ต่อสัญญาณทางด้านอินพุท ดูระบบสายดิน ตรวจสอบปุ่มควบคุมต่าง ๆ  ลดระดับก่อนเปิดสวิตช์เครื่องขยายเสียง เปิดสวิตซ์เครื่องขยายเสียง ค่อย ๆ เร่งระดับเสียง

การใช้เครื่องขยายเสียง ปรับแต่งคุณภาพเสียง ขณะใช้งานถ้าจำเป็นต้องปิดหรือเปิดสวิตซ์ควรระมัดระวังเสียง " ตุ๊บ" หมั่นตรวจสอบความบกพร่องของระบบ เมื่อใช้งานเสร็จแล้วก่อนปิดสวิตซ์จะต้องลดระดับเสียงให้เบาสุดก่อน แล้วปิดสวิตช์ เพาเวอร์แอมป์ก่อน เก็บอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าที่

การบำรุงรักษาเครื่องขยายเสียง ระมัดระวังเรื่องความร้อน ฝุ่นละออง ความชื้นเช่นฝนตก ติดตั้งในที่ ๆ รับน้ำหนักได้เพียงพอ การใช้งานติดต่อกันเป็นเวลานานต้องระมัดระวังเรื่องความร้อน Load ที่ AC outlet ต้องไม่ใช้เกิน ทั้ง switch/unswitch ต้องต่อสายลำโพงก่อนเปิดสวิตช์เพาเวอร์เครื่องเสมอ อย่าใช้ไฟเกินขนาด ต่อให้ถูกขั้วถ้าเป็นไฟฟ้าระบบดีซี ควรมีการนำมาใช้งานบ้างเป็นระยะ  ไม่ควรเก็บไว้นานจนเกินไป

การพิจารณาคุณลักษณะ ของเครื่องขยายเสียง ดำรัส อ่อนเฉวียง

Product Specifications Damping Factor : Greater than 800, 20Hz - 20kHz @ 8 Ohms Dimensions : 17.75"w × 5.91"h × 20.1"d Frequency Response : Within 0.1dB from 20Hz - 20kHz Input Connectors : two 3-pin XLR balanced input connectors two RCA input connectors two 1/8" mini-jacks for remote turn-on one RS-232 port on RJ-11 two Mark Levinson communications ports on RJ-45 one IEC-standard high current AC receptacle Input Impedence : 100k (balanced) 50k (single-ended) Input Sensitivity - 2.83V Output : 130mV Input Sensitivity - Full Output : 1.382V Mains Voltage : determined by the needs of country for which the unit was manufactured; cannot be reset by dealer or user Output Connectors : 4 custom binding posts Output Impedance : Less than 0.05 from 20Hz - 20kHz Power Consumption : 200W (5%) at idle, 50W (5%) in standby Power Output : 200 watts/channel continuous rms power @ 8O 400 watts/channel continuous rms power @ 4 Ohms Signal to Noise Ratio : Better than -80dB (ref.2.83V) Voltage Gain : 26.8dB Weight : 95lbs. (43kg)

power output ที่อิมพีแดนซ์ของลำโพง กี่โอห์ม ?  หน่วยของกำลังขยายเป็นอะไร เช่น   RMS ? Dynamic Power ? PMPO(Peak Music Power Output)  continuous power ? maximum power ? rate power ? pogram power ? Example A "170W amp" as measured by the EIA Standard Specification 8 ohms, 1 kHz, 1 % THD = 170 watts Note: The unpublished FTC rating might be as low as 135W, 20Hz to 20kHz, 0.1% THD.

Distortion ค่าความผิดเพี้ยน กำหนดเป็น % ยิ่งน้อยยิ่งดี                 * ค่าความเพี้ยนทาง harmonic มักจะคิดเป็นความเพี้ยนโดยรวม(Total harmonic distortion : THD) โดยปกติควรพิจารณาที่ต่ำกว่า 1% ซึ่งในปัจจุบันเครื่องขยายเสียงทำได้อยู่แล้ว                *ค่าความเพี้ยนจากการรวมสัญญาณสเตริโอ(IM Distortion) เป็นการบอกถึงการที่เกิดความเพียนจากเสียงอีกช่องหนึ่งไปรบกวนอีกช่องหนึ่ง

power bandwidth ความกว้างของการขยายสัญญาณเสียง ควรพิจารณาว่าในช่วงความถี่ตอบสนองนั้นให้กำลังขับอย่างไร ความถี่เท่าใดถึงเท่าใดและกำลังกี่ watt

damping factor เป็นสัดส่วนระหว่าง impedance ของเครื่องขยายเสียงกับลำโพง หมายถึงเมื่อสิ้นสุดสัญญาณเสียงแล้วลำโพงควรจะหยุดได้ทันทีทันใดเท่าไร   โดยปกติจะเลือกค่าที่ไม่ต่ำกว่า 40 ที่ 10 kHz  และ 140 ที่ 1kHz

frequency response การตอบสนองความถี่ การตอบสนองความถี่ของเครื่องขยายเสียงควรให้มีการตอบสนองอยู่ในช่วงความถี่ที่มนุษย์ฟังได้(20~20,000 Hz)

input/out put sensitivity/impedance การเข้ากันของระบบได้ดีจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพิจารณาทั้งกำลังทางด้าน input และ output ว่ามีความแรงเพียงพอหรือไม่ ถ้าสัญญาณเข้าเบาไปเสียงจะค่อยและซ่า บาง ๆ  แต่ในทางตรงข้ามถ้าสัญญาณเข้ามากไป เสียงที่ได้จะแตก ส่วนการเข้ากันได้หรือที่เรียกว่า matching นั้นจำเป็นที่ต้องเลือกให้มี impedance ที่เหมาะสม ทุกอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกันไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ทางด้าน input และ output จะต้องเป็นแบบเดียวกันหรือให้ตัวป้อนควรมี impedance สูงกว่าแต่ไม่ควรให้ต่ำกว่า เพื่อคุณภาพเสียงที่ดีเช่นเดียวกัน

tone control การปรับแต่งเสียง  อาจจะมีปุ่มปรับเสียงแยกทุ้ม(bass) และเสียงแหลม(treble) หรืออาจจะมีเสียงกลาง(mid or midrange)  ส่วนเครื่องที่มีปุ่มปรับเดียวจะเป็นปุ่มtone

power consumption  การกินปริมาณไฟฟ้าของเครื่อง

คุณสมบัติของของลำโพง (speaker power specifications)

ค่ากำลังเฉลี่ย (Average power) หมายถึงค่า  "RMS" power, RMS (root-mean-square) ค่านี้เหมาะสำหรับ ค่ากำหนด กำลังของเครื่องขยายเสียงมากกว่า แต่อย่างไรก็ตามการใช้ค่า RMS ก็ยังถือเป็นค่าเฉลี่ยที่ใช้กัน

วัตต์โปรแกรม (Programme power) PMPO. เป็นค่าทดสอบของกำลังที่ได้มาจาการใช้ sweep generator  (sinewave power tests). แต่ปัจจุบันถือว่าไม่ได้ค่าที่แท้จริง  แต่ถ้าคิดคร่าว ๆ  ก็จะได้ค่าที่น้อยกว่า RMS ครึ่งหนึ่ง ซึ่งพอที่จะเป็นแนวทางสำหรับการเลือก ขนาดกำลังของเครื่องขยายเสียงได้  เช่นลำโพงที่มีค่าเฉลี่ย(RMS  300W  ก็จะมีค่ากำลังเท่ากับ 600W programme power (2x300W)  ซึงอาจจะเหมาะสำหรับใช้กับเครื่องขยายเสียงที่มีกำลังออกที่  600W  

กำลังสูงสุด (Peak power) อัตราส่วน(Ratio) ตัวอย่างเช่น Average              1 300W Programme              2 600W Peak              4  (ไม่แน่เสมอไป!) 1200W

ความสัมพันธ์กับกำลังของเครื่องขยายเสียง โดยทั่วไปแล้วเราใช้เครื่องขยายเสียงที่มีกำลังสูงกว่าลำโพง(speaker's rated power). ทั้งนี้เพราะว่า เครื่องขยายเสียง สามารถใช้กำลังเท่ากับ ค่ากำลังต่อเนื่อง( rated output power) ตัวอย่าง เช่น ลำโพงขนาด 450W (average power)อาจจะใช้ กับ เครื่องขยายที่มีขนาด กำลังขับ(output) ที่ 700W  ถ้าเราใช้เครื่องขยายเสียงที่กำลังต่ำ อาจจะ ไม่เพียงพอต่อการขับลำโพงที่สามารถรับ input ที่สูง ๆ ได้ นอกจากนี้ สัญญาณที่ป้อนอาจจะมี ความเพี้ยนหรือสัญญาณถูกclipped  อาจจะ ไปทำลายลำโพงให้เกิดความเสียหายได้

ความสัมพันธ์กับกำลังของเครื่องขยายเสียง ประเภทของ Output ของเครื่องขยายเสียง Low Impedance หรือ High- Impedance

ลักษณะการใช้งาน สาธารณะ ในห้องประชุม ในห้องเรียน ห้องบันทึกเสียง แสดงคอนเสิร์ต

เอกสารอ้างอิง สมสิทธิ์ จิตรสถาพร  การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีทางการศึกษา ตอนที่ 2 ระบบเครื่องเสียง 2528 National Semiconductor   http://www.national.com/ DirtyVegas  http://www.djtimes.com/original/djmag/may03/power_packages.htm http://www.thaipresentation.com/technology/pa/index.php http://www.buycoms.com/upload/coverstory/115/Sound_System.html http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355201/p52-3.html