ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง IP-Addressing and Subneting IP Management Case Study อ.กฤติเดช จินดาภัทร์
IP Address คืออะไร IP Address คือ ที่อยู่ (Address) ของอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย เปรียบเสมือนกับเลขที่บ้านของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่เชื่อมต่อกัน คำถาม : ทำไมจึงไม่ใช้ MAC Address ? จากที่ผ่านมาเราได้เรียนเกี่ยวกับ MAC Address หรือหมายเลขประจำ NIC (Network Interface Card) หรือ LAN Card นั่นเองซึ่งตัว NIC แต่ละอันก็มีหมายเลขที่ไม่ซ้ำกัน
คำตอบ สาเหตุที่เราต้องมี IP Address อีกนั้นก็เพื่อเหตุผลต่าง ๆ คือ MAC Address เปลี่ยนแปลงไม่ได้ แต่ IP Address สามารถเปลี่ยนแปลงเองได้ MAC Address ทำงานในระดับของ Hardware ส่วน IP Address ทำงานในระดับของ Software ในการรับส่งข้อมูลเราต้องมีทั้ง Hardware และ Software MAC Address ไม่สามารถจัดกลุ่ม เพื่อแบ่งการใช้งานในระบบได้
3 ระดับของ Addressing Host Name Internet Address Station Address ชื่อเครื่อง Internet Address หมายเลข IP Station Address เบอร์ Hardware ที่กำหนดให้กับ NIC หรือที่เรียกว่า MAC Address นั่นเอง Kprums.org 202.29.15.130 0:0:c:6:13:4a
IP Version 4 และ Version 6 IP version 4 (IPv4) มีขนาด 4 byte แต่ละ byte มีขนาด 8 bit ดังนั้น IPv4 จึงมีขนาดเท่ากับ 32 bit 32 bit ก็คือ 232 ทำให้สามารถมีหมายเลข IP Address 4,294,967,296 หมายเลข 4 พันล้านเบอร์ ไม่พอใช้ นักพัฒนาจึงพัฒนา IP เป็น version 6 หรือ IPv6 ที่มีขนาด 128 bit และเริ่มนำมาเสริมกับ IPv4 ได้เป็น 2128
ส่วนประกอบของ IP Address
IP Address Class
Note !
IPv4 แบ่งออกเป็น 5 Class ดังนี้ IP Address และจำนวนโฮสในแต่ละ Class
ตัวอย่างหมายเลข IP Address และ Subnet Mask
Private IP กับ Public IP หมายถึง IP Address ที่ไม่ใช้บน Internet และไม่สามารถติดต่อกับ Public IP ได้ แต่ไม่ใช่ซะทีเดียว เราสามารถใช้เทคนิค ที่เรียกว่า NAT (Network Address Translation) เข้าช่วยได้ Private IP สามารถกำหนดขึ้นใช้ได้เอง โดยทั่วไปใช้กับ Intranet ในหน่วยงาน Public IP หรืออีกนัยหนึ่งเรียกว่า Real IP ใช้ในเครือข่าย Internet โดยจะต้องขอไปยังหน่วยงานที่กำกับดูแล IP Address ในแต่ละประเทศ ซึ่งแน่นอนว่าแต่ละหน่วยงานที่ขอ IP Address ต้องได้หมายเลขที่ไม่ซ้ำกับใครเลยในโลกนี้ ในประเทศไทยหน่วยงานที่กำกับดูแลคือ thnic.net
ช่วงของหมายเลขการใช้งาน Private IP
ตัวอย่าง IP Address คือ 192.168.1.1/255.255.255.0 หมายถึง IP Address หรือ Host Address คือ 192.168.1.1 Subnet Mask คือหมายเลขหลังเครื่องหมาย "/" คือ 255.255.255.0 โดยมีความหมายว่า มีจำนวนโฮสในเน็ตเวิร์คเท่าไหร่ ใน Class C คำนวณจำนวนได้โดยการนำค่าจำนวน HostID ที่มีขนาดเท่ากับ 8 bit หรือเท่ากับ 28 = 256 ลบด้วยค่าสุดท้ายของ Subnet Mask จากตัวอย่างคือ 256 - 0 = 256 ดังนั้นจึงมีจำนวนโฮสทั้งหมดเท่ากับ 256 โฮส แต่ในหนึ่งเน็ตเวิร์คจะต้องมี Network Address และ Broadcast Address เสมอ จึงมีโฮสเท่ากับ 254 โฮส
ตัวอย่าง IP Address คือ 192.168.1.1/255.255.255.0 หมายถึง Network Address บอกตำแหน่งเริ่มต้นของ IP Address ใน Class จากตัวอย่าง เป็นเน็ตเวิร์ค Class C ซึ่งมีโฮสทั้งหมดเท่ากับ 256 โฮส โดยมี IP Address เริ่มจาก 192.168.1.0 - 192.168.1.255 ดังนั้น Network Address คือ 192.168.1.0 Broadcast Address เป็นช่องทางของการส่งข้อมูลให้กับโฮสอื่นๆ เปรียบเสมือนการตะโกนเข้าไปในห้องที่มีคนอยู่รวมๆ กัน ซึ่งทำให้คนที่อยู่ในห้องได้ยินพร้อมๆ กันทั้งหมด โดย Broadcast Address จะเป็น IP Address สุดท้ายของเน็ตเวิร์คเสมอ จากข้อ 3 Broadcast Address จึงมีค่าเท่ากับ 192.168.1.255
รูปแบบการเขียน IP Address และ Subnet Mask การเขียน Subnet Mask อีกอย่างคือเขียนเป็นจำนวน bit เช่น 192.168.1.1 / 24 โดย 24 นี้ คือ NetID จาก 32 bit ของ IPv4 ทำให้เหลือ HostID เท่ากับ 8 bit (32 - 24) ดังนั้นจึงเขียน Subnet Mask เป็น /24 ซึ่งเท่ากับการเขียนโดยระบุ Subnet Mask 255.255.255.0 192.168.1.1/24 = 192.168.1.1/255.255.255.0 ซึ่งก็คือ Class C ที่ไม่ได้แบ่ง Subnet นั่นเอง
IP Address กับ Router IP Address หนึ่ง ให้กับ 1 interface (ไม่ใช่ 1 เครื่อง) ดังนั้น อุปกรณ์ที่มีหลาย Interface ก็มีได้หลาย IP แล้วแต่จะกำหนด เช่น อุปกรณ์ Switch หรือ Router
Windows ให้เรากำหนดค่าอะไรบ้าง
Cast Study การจัดสรร IP Address
Case : 1 ถ้าไม่แบ่ง Subnet เลย เราต้องระบุให้หมายเลข Subnet เป็น
กรณีที่ต้องการแบ่ง Subnet นั้นมีจุดประสงค์เพื่อแยก Network ออกจากกันซึ่งจะทำให้ เครื่องผู้ใช้ จะมองเป็นกันเฉพาะในกลุ่มเท่านั้น การ Boardcast จะเกิดเฉพาะใน Net เดียวกันเท่านั้น ลดการแพร่กระจาย Virus ได้
Case : 2 ต้องการแบ่ง Subnet ออกเป็น 2 กลุ่ม
Case : 2 ต้องการแบ่ง Subnet ออกเป็น 2 กลุ่ม
Case : 3 ต้องการแบ่ง Subnet ออกเป็น 3 กลุ่ม
Case : 3 ต้องการแบ่ง Subnet ออกเป็น 3 กลุ่ม
Week 07
IP ไม่พอใช้งาน การแก้ปัญหา กำหนด Private IP ใช้ภายในองค์กร แต่ละองค์กรสามารถนำไปใช้ซ้ำกันได้ แต่ IP เหล่านี้จะต่อออก Internet โดยตรงไม่ได้ ต้องเปลี่ยนเป็น IP ที่ต่อออกได้ ผ่านอุปกรณ์ Network Address Translator (NAT) RFC 1918 10.0.0.0 – 10.255.255.255 = 1 Class A 172.16.0.0 – 172.31.255.255 = 16 Class B 192.168.0.0-192.168.255.255 = 256 Class C กำหนด Network ID ไม่เป็นตาม Class แต่จะแบ่งเท่าที่จำเป็นต่อการใช้งาน โดยเขียน IP Address คู่ไปกับ Subnet Mask เพื่อบ่งบอกส่วนของ Network ID
Subnets and Subnet Masks วิธีแก้ ไม่ใช้ Class ที่กำหนดให้ เราสามารถกำหนดขนาด Network ให้ใหญ่หรือเล็กตามที่เราต้องการ แต่เราต้องบอกอุปกรณ์ (Router, PC) เองว่าส่วนใหนเป็น Network ID เพราะจะดูจากหมายเลข IP ในส่วนต้นเพื่อจะดูว่าเป็น Class ไหนไม่ได้แล้ว ใช้ Subnet Mask กำหนด คือ Bit ที่เป็น 1 เริ่มจากซ้ายมือติดต่อกันจะกำหนดส่วนของ Network ID วิธีนี้จะไม่มี Class เราเรียก Classless และการกำหนด IP Address จะใช้คู่กับ Subnet Mask เสมอ เสมือนกับว่าเราแบ่ง IP Class เดิม ออกเป็น Subnetwork ย่อยๆ ดังนั้นบางครั้งเราใช้คำว่า Subnet แทนคำว่า Network และวิธีการนี้เรียกการทำ Subnetting
Default Subnet Mask สำหรับ Classful IP ที่กำหนดตามมาตรฐาน Class A กำหนด 8 Bit แรกคือ NW ID อีก 24 Bit หลังคือ Host ID ดังนั้นค่า Default Subnet สำหรับ Class A คือ 1111 1111 0000 0000 0000 0000 0000 0000 หรือเขียนเป็น 255.0.0.0 หรือเขียนย่อเป็น /8 Class B กำหนด 16 Bit แรกคือ NW ID อีก 16 Bit หลังคือ Host ID ดังนั้นค่า Default Subnet สำหรับ Class B คือ 1111 1111 1111 1111 0000 0000 0000 0000 หรือเขียนเป็น 255.255.0.0 หรือเขียนย่อเป็น /16 Class C กำหนด 24 Bit แรกคือ NW ID อีก 8 Bit หลังคือ Host ID ดังนั้นค่า Default Subnet สำหรับ Class C คือ 1111 1111 1111 1111 1111 1111 0000 0000 หรือเขียนเป็น 255.255.255.0 หรือเขียนย่อเป็น /24
การใช้ Subnet Mask เสมือนกับเราแบ่ง NW Class เดิมออกเป็น Subnetwork ย่อย ทำโดยเพิ่มบิตที่เป็น 1 ใน Subnet Mask NW ID จะเปลี่ยนไป Host ID จะปลี่ยน Host ID Range จะเปลี่ยน NW มีขนาดเล็กลง (เป็นกำลังของ 2) จำนวน NW มีเพิ่มขึ้น บิตที่เป็น 1 ใน Subnet Mask จะเริ่มจากซ้ายมือ และจะต้องติดต่อกัน จะคั่นด้วย 0 ไม่ได้ ส่วนบิตที่เป็น 0 จะเริ่มจากขวามือ และต้องติดต่อกันจะคั่นด้วย 1 ไม่ได้
การอ่าน Subnet ต้องใช้ IP Address คู่กับ Subnet Mask เสมอ มีขั้นตอนดังนี้ แปลง IP Address เป็นเลขฐาน 2 แปลง Subnet Mask เป็นเลขฐาน 2 ทำ Logical ‘AND’ ของ IP และ Subnet Mask ผลที่ได้คือ NW ID แปลง NW ID กลับในรูป IP Format ส่วนของ Host ID คือ Bit ที่เหลือจาก NW ID
วิธีการแปลงเลขฐาน 10 อย่างเร็ว ตัวเลขฐานสองแต่ละ Octet คือ 8 บิต มีน้ำหนักตามลำดับดังนี้ 128 64 32 16 8 4 2 1 ถ้าเลขมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 128 ดังนั้น Bit แรกจะต้องเป็น 1 นำ 128 มาหักลบกับเลขเดิม และทำต่อ ถ้าเลขที่เหลือมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 64 ดังนั้น Bit ที่สองต้องเป็น 1 นำ 64 มาหักลบกับเลขเดิม และทำต่อ ทำต่อไปเรื่อยๆ ใช้หลักการเดียวกัน หักลบด้วย 62 16 ... ตามลำดับ ถ้าค่าเหลือน้อยกว่า 16 เราสามารถใช้ตารางมาเปรียบเทียบในเลขฐานสอง 4 หลักหลังได้
ข้อเสนอแนะ ส่วน Octet ใน Net Mask ที่เป็น 255 ทั้ง Octet จะเป็น NW ID ไม่มีความจำเป็นต้องแปลงเป็นฐาน 2 ให้เสียเวลา ส่วน Octet ใน Net Mask ที่เป็น 0 ทั้ง Octet จะเป็น Host ID ไม่มีความจำเป็นต้องแปลงเป็นฐาน 2 ให้เสียเวลา แปลงเฉพาะส่วน Octet ใน NM ที่ไม่ใช่ 0 หรือ 255
Example 1 จงหาว่า IP 57.89.156.58 /18 กับ IP 57.89.173.126 /18 อยู่ใน Subnet เดียวกันหรือไม่ ? 57. 89. 1001 1100 .58 255.255. 1100 0000 .0 [1111 1111 1111 1111 1100 0000 0000 0000] NW ID: 57.89. 1000 0000 .0 = 57.89.128.0 57. 89. 1010 1101 .126 เมื่อมี NW ID เหมือนกัน ดังนั้นจะอยู่ใน Subnet เดียวกัน
Question จงหาว่า IP 57.89.174.58 /18 กับ IP 57.89.199.126 /18 อยู่ใน Subnet เดียวกันหรือไม่ ? จงหาว่า IP 192.168.111.58 /26 กับ IP 192.168.111.66 /26 อยู่ใน Subnet เดียวกันหรือไม่ ?
Address Range ของแต่ละ Subnet ดูจาก Host Bit เริ่มจาก เมื่อ Host Bit เป็น 0 ทั้งหมด (Address นี้จะไม่ใช้) สิ้นสุดที่ Host Bit เป็น 1 ทั้งหมด (Address นี้คือ Broadcast Address ของ Subnet นี้) จำนวน Host ที่มีได้ใน Subnet นี้คือ 2n - 2 n คือจำนวน Bit ที่กำหนดเป็น Host ID
Example 2 กำหนด IP Address 192.168.247.239/28 จงหา Network ID และ Host ID Range ของ Network นี้ 192.168.247. 1110 1111 255.255.255. 1111 0000 192.168.247. 1110 0000 NW = 192.168.247.224, Host 0.0.0.15 Host Range: 192.168.247.1110 0000 – 192.168.247.1110 1111 192.168.247.1110 0001 – 192.168.247.1110 1110 192.168.247.225 – 192.168.247.238 Note: IP Address ที่กำหนดในโจทย์ เป็น Broadcast Address ของ Subnet นี้
การแบ่ง NW Class เดิมโดยทำ Subnet เมื่อกำหนด IP ที่เป็น Classful หรือทำ Subnet มาแล้ว และเราต้องการแบ่ง Network ที่ได้รับเดิม ให้เป็น Network ย่อยลงไปอีก หลักการ เพิ่มจำนวนบิตของ NM เพิ่มขึ้น เพิ่ม 1 บิต จะแบ่ง NW เดิมเป็น 2 Subnet เท่าๆกัน เพิ่ม 2 บิต จะแบ่ง NW เดิมเป็น 4 Subnet เท่าๆกัน . เพิ่ม n บิต จะแบ่ง NW เดิมเป็น 2n Subnet เท่าๆกัน NW ID ใหม่ที่ได้ ได้จาก NW ID เดิม บวกกับ บิต ที่เพิ่มขึ้น ( สลับค่า 0 และ 1 ) NW ID ใหม่ที่ได้ ยังคงอยู่ใน NW เดิม แต่เมื่อใช้ NM ใหม่ที่เพิ่มบิต จะมองเห็นเป็นคนละ Network
Example 3 กำหนด NW 200.23.78.0 (Class C) จงหา Address Range ของ NW นี้ จากนั้นแบ่ง NW นี้ออกเป็น 8 ส่วน และหา Address Range, NM รวมทั้ง NW ID ของ NW ใหม่ที่ได้ 200.23.78.0 /24 Class C NM = 1111 1111. 1111 1111. 1111 1111. 0000 0000 Address Range ก่อนทำ Subnet 200.23.78.1 – 200.23.78.254 = 28 – 2 = 254 แบ่งเป็น 8 ส่วน ต้องเพิ่ม NM อีก 3 บิต เป็น /27 คือ 1111 1111. 1111 1111. 1111 1111. 1110 0000 ดังนั้น NM = 255.255.255.224 แต่ละ Subnet มี Host ได้ 25 – 2 = 30
Example 3 200.23.78.0 200.23.78.0000 0000 255.255. 255. 1110 0000 (255.255.255.240) NW ใหม่จะเป็น 200.23.78. 0000 0000 = 200.23.78.0/27 200.23.78. 0010 0000 = 200.23.78.32/27 200.23.78. 0100 0000 = 200.23.78.64/27 200.23.78. 0110 0000 = 200.23.78.96/27 200.23.78. 1000 0000 = 200.23.78.128/27 200.23.78. 1010 0000 = 200.23.78.160/27 200.23.78. 1100 0000 = 200.23.78.192/27 200.23.78. 1110 0000 = 200.23.78.224/27
Example 3 NW ใหม่จะเป็น 200.23.78. 0000 0000 = 200.23.78.0/27 IP Range: 200.23.78.0(1)-200.23.78.31(30) = 30 200.23.78. 0010 0000 = 200.23.78.32/27 IP Range: 200.23.78.32(33)-200.23.78.63(62) = 30 200.23.78. 0100 0000 = 200.23.78.64/27 IP Range: 200.23.78.64(65)-200.23.78.95(94) = 30 200.23.78. 0110 0000 = 200.23.78.96/27 IP Range: 200.23.78.96(97)-200.23.78.127(126) = 30 200.23.78. 1000 0000 = 200.23.78.128/27 IP Range: 200.23.78.128(129)-200.23.78.159(158) = 30 200.23.78. 1010 0000 = 200.23.78.160/27 IP Range: 200.23.78.160(161)-200.23.78.191(190) = 30 200.23.78. 1100 0000 = 200.23.78.192/27 IP Range: 200.23.78.192(193)-200.23.78.223(222) = 30 200.23.78. 1110 0000 = 200.23.78.224/27 IP Range: 200.23.78.224(225)-200.23.78.255(254) = 30
Example 7 200.23.78.0 200.23.78.0 200.23.78.0/27 200.23.78.31 200.23.78.32 200.23.78.32/27 200.23.78.63 200.23.78.64 200.23.78.64/27 200.23.78.95 200.23.78.96 200.23.78.96/27 200.23.78.127 200.23.78.128 200.23.78.0/24 200.23.78.128/27 200.23.78.159 200.23.78.160 200.23.78.160/27 200.23.78.191 200.23.78.192 200.23.78.192/27 200.23.78.223 200.23.78.224 200.23.78.224/27 200.23.78.255 200.23.78.255
IP Address Management การกำหนดหมายเลข IP ให้กับเครื่องใน Network 2 ขั้นตอน แบ่ง Subnet กำหนด Network ID จากนั้นกำหนด Host ID โดยใช้ IP Range ใน Subnet นั้น แบ่ง Network ออกเป็น Subnet เชื่อมต่อด้วย Router แต่ละ Subnet จะต้องมี Network Address เดียว PC ในแต่ละ Subnet จะต้องมี Network Address เหมือนกัน แต่ Host Address ต่างกัน ส่วน Interface ของ Router จะเป็น Gateway สำหรับออกนอก Subnet ของ Subnet นั้น และจะต้องอยู่ใน Networkเดียวกันกับ Subnet นั้น มี NW ID ของ Subnet นั้น และ Host ID ไม่ซ้ำกับเครื่องใน Subnet นั้น การกำหนด Configuration ของ PC กำหนดด้วย IP, Subnet และ Gateway
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 20 PC LAN 2 40 PC LAN 3 30 PC
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) LAN 2 (40 PC) PC 1 LAN 3 (30 PC) PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) LAN 2 (40 PC) PC 1 LAN 3 (30 PC) PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) LAN 2 (40 PC) PC 1 LAN 3 (30 PC) PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 20 PC LAN 2 40 PC LAN 3 30 PC
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 3 Subnet 20, 30 และ 40 PC บวก Gateway อีก Subnet ละหนึ่ง ทำ Subnet เพิ่ม 1 บิต แบ่งเป็น 2 Subnet แต่ละ NW มีได้ 126 IP เพิ่ม 2 บิต แบ่งเป็น 4 Subnet แต่ละ NW มีได้ 62 IP NM = /26 ดังนั้นจำนวน Bit สำหรับ Host = 6, 26=64 เพิ่ม 3 บิต แบ่งเป็น 8 Subnet แต่ละ NW มีได้ 30 IP เพิ่ม 4 บิต แบ่งเป็น 16 Subnet แต่ละ NW มีได้ 14 IP
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 3 Subnet 20, 30 และ 40 PC บวก Gateway อีก Subnet ละหนึ่ง ทำ Subnet เพิ่ม 2 บิต แบ่งเป็น 4 Subnet แต่ละ NW มีได้ 62 IP NW 192.168.10.0/26; IP 192.168.10.0-63 NW 192.168.10.64/26; IP 192.168.10.64-127 NW 192.168.10.128/26; IP 192.168.10.128-191 NW 192.168.10.192/26; IP 192.168.10.192-255 อย่าลืมว่า IP แรกและสุดท้ายไม่ใช้
Example 4 Assign แต่ละ Subnet ให้กับแต่ละ LAN NW 192.168.10.0/26; IP 192.168.10.0-63 NW 192.168.10.64/26; IP 192.168.10.64-127 NW 192.168.10.128/26; IP 192.168.10.128-191 NW 192.168.10.192/26; IP 192.168.10.192-255 อย่าลืมว่า IP แรกและสุดท้ายไม่ใช้ Assign แต่ละ Subnet ให้กับแต่ละ LAN Assign IP Address ตาม IP Range ของ Subnet ให้กับแต่ละ PC ใน Subnet และ Gateway
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 20 PC 192.168.10.0 /26 LAN 2 40 PC 192.168.10.64 /26 LAN 3 30 PC 192.168.10.128 /26
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 192.168.10.65 192.168.10.1 192.168.10.129 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30
Example 4 จงกำหนด Subnet และ IP Address ของแต่ละ PC รวมถึง Interface ของ Router สำหรับ NW ข้างล่าง กำหนดให้ใช้ 192.168.10.0/24 LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 192.168.10.65 192.168.10.1 192.168.10.129 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 192.168.10.2 - .21 192.168.10.65 - .104 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30 192.168.10.130 - .159
Example 4 Notes: 1 มีเหลืออีก 1 Subnet ไม่ได้ใช้ สำหรับขยายในอนาคต IP แต่ละ Subnet ยังมีเหลือ เผื่อไว้ขยายในอนาคต บางกรณีมีหลายคำตอบในการแบ่ง Subnet LAN 1 (20 PC) 192.168.10.0/26 LAN 2 (40 PC) 192.168.10.64/26 192.168.10.65 192.168.10.1 192.168.10.129 PC 1 PC 2 PC 20 PC 1 PC 2 PC 40 192.168.10.2 - .21 192.168.10.65 - .104 LAN 3 (30 PC) 192.168.10.128/26 PC 1 PC 2 PC 30 192.168.10.130 - .159
IP Management เป็นการแบ่ง Subnet จากนั้นกำหนดหมายเลข IP ให้กับอุปกรณ์ของแต่ละหน่วยงานขององค์กร ภายใน Subnet คือ LAN วงเดียวกัน เชื่อมต่อกันด้วย Switch Layer 2 หรือ Hub ระหว่าง Subnet คือคนละ Network จะเชื่อมต่อกันได้ด้วยอุปกรณ์ Layer 3 คือ Router (หรือ Switch Layer 3) การส่งข้อมูลภายใน Network หรือ LAN จะใช้ MAC Address การส่งข้อมูลข้าม Network จะผ่าน Router โดยทิศทางการส่งข้อมูลจะดูจาก Net ID ที่อยู่ใน IP Address ภายใน Router จะมี Routing Table
IP Management เป็นการแบ่ง Subnet จากนั้นกำหนดหมายเลข IP ให้กับอุปกรณ์ของแต่ละหน่วยงานขององค์กร เนื่องจากองค์กรเป็น Hierarchy ดังนั้นการแบ่ง Subnet ควรจะทำเป็น Hierarchy ด้วย ตามโครงสร้างขององค์กร ให้แน่ใจว่าแต่ละหน่วยงานย่อยท้ายสุดที่ต้องกำหนด IP Address จะมีหมายเลข Host เพียงพอต่อการใช้งาน
IP Management a.b.c.d/20 a.b.c.d/22 a.b.c.d/24 a.b.c.d/26
Case Study: IP Management วิทยาลัยแห่งหนึ่งประกอบไปด้วย 4 อาคาร แต่ละอาคารประกอบด้วยหน่วยงานและจำนวนผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ดังนี้ อาคาร 1 ทะเบียน 15 คน บุคคล 15 คน การเงิน 15 คน อาคาร 2 เคมี 70 คน คณิตศาสตร์ 50 คน ฟิสิกค์ 40 คน ชีววิทยา 50 คน
Case Study อาคาร 3 บัญชี 100 คน สังคมศาสตร์ 50 คน มนุษยศาสตร์ 75 คน อาคาร 4 วิศวกรรม 80 คน ไอที 100 คน ศิลปกรรม 60 คน วิทยาลัยต้องการแบ่ง Subnet ของแต่ละหน่วยงาน และจัดสรร IP จาก 150.23.192.0/18 ที่ได้รับมา จงเสนอวิธีการจัดสรร IP ดังกล่าว
การคิด จาก 150.23.192.0/18 ที่ได้ ทำ Subnet ในขั้นแรก เพิ่มอีก 2 บิตเป็น /20 เราได้ 4 subnet เพียงพอสำหรับอาคาร 1-4 เราสามารถใช้ /21 ได้ 8 Subnet แต่ใช้แค่ 4 เหลือสำรองในอนาคตอีก 4 ก็ได้ สมมุติว่าเราเลือก /21 เราจะได้ 8 Subnet ดังนี้
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 150.23. 1100 0000. 0 /21 150.23. 1100 1000. 0 /21 150.23. 1101 0000. 0 /21 150.23. 1101 1000. 0 /21 150.23. 1110 0000. 0 /21 150.23. 1110 1000. 0 /21 150.23. 1111 0000. 0 /21 150.23. 1111 1000. 0 /21
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ 150.23. 1100 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 1 150.23. 1100 1000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 2 150.23. 1101 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 3 150.23. 1101 1000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 4
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ 150.23. 1100 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 1 อาคาร1 มีภายในอีก 3 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 3 ที่เหลือสำหรับอนาคต สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย 150.23. 1100 0000. 0 /24 ให้กับ ทะเบียน IP 150.23.192.0-150.23.192.255 150.23. 1100 0001. 0 /24 ให้กับ บุคคล IP 150.23.193.0-150.23.193.255 150.23. 1100 0010. 0 /24 ให้กับ การเงิน IP 150.23.194.0-150.23.194.255
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ 150.23. 1100 1000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 2 อาคาร2 มีภายในอีก 4 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 4 ที่เหลือสำหรับอนาคต สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย 150.23. 1100 1000. 0 /24 ให้กับ เคมี IP 150.23.200.0-150.23.200.255 150.23. 1100 1001. 0 /24 ให้กับ คณิตศาสตร์ IP 150.23.201.0-150.23.201.255 150.23. 1100 1010. 0 /24 ให้กับ ฟิสิกค์ IP 150.23.202.0-150.23.202.255 150.23. 1100 1011. 0 /24 ให้กับ ชีววิทยา IP 150.23.203.0-150.23.203.255
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ 150.23. 1101 0000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 3 อาคาร3 มีภายในอีก 3 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 3 ที่เหลือสำหรับอนาคต สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย 150.23. 1101 0000. 0 /24 ให้กับ บัญชี IP 150.23.208.0-150.23.208.255 150.23. 1101 0001. 0 /24 ให้กับ สังคมศาสตร์ IP 150.23.209.0-150.23.209.255 150.23. 1101 0010. 0 /24 ให้กับ มนุษยศาสตร์ IP 150.23.210.0-150.23.210.255
8 Subnet จาก 150.23.192.0/18 สมมุติเราใช้ 4 Subnet แรก ที่เหลือเก็บไว้สำหรับการขยายในอนาคต ดังนี้ 150.23. 1101 1000. 0 /21 ใช้กับ อาคาร 4 อาคาร4 มีภายในอีก 3 หน่วยงาน เราแบ่ง Subnet ต่อ สมมุติใช้ /24 คือแบ่งเป็น 8 Subnet อีก แต่เราใช้แค่ 3 ที่เหลือสำหรับอนาคต สังเกตว่า Host ที่มีได้ในแต่ละ Subnet ที่แบ่ง คือ /24 จะเท่ากับ 254 ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละหน่วยงานย่อย 150.23. 1101 1000. 0 /24 ให้กับ วิศวกรรม IP 150.23.216.0-150.23.216.255 150.23. 1101 1001. 0 /24 ให้กับ ไอที IP 150.23.217.0-150.23.217.255 150.23. 1101 1010. 0 /24 ให้กับ ศิลปกรรม IP 150.23.218.0-150.23.218.255
การบ้าน ส่งคราวหน้า (เขียนด้วยลายมือเท่านั้น) ให้จัดสรร IP Address ให้เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยโจทย์คือ หน่วยงานแห่งหนึ่งมีเครื่อง PC ทั้งหมด 200 เครื่อง โดยแบ่งส่วนงานออกเป็น 3 แผนก ดังนี้ แผนกที่ 1 มี PC จำนวน 70 เครื่อง แผนกที่ 2 มี PC จำนวน 20 เครื่อง แผนกที่ 3 มี PC จำนวน 50 เครื่อง ให้ใช้ IP Private Class C Network Number, Gateway, IP Range, Boardcast Address และ Subnet
A&Q Thank You ! www.charprom.com