อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ระบบโทรคมนาคม.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ข้อดีและข้อเสียของสื่อกลางใน การสื่อสารข้อมูล โดย นาย กิตติพิชญ์ เครือสุวรรณ.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบ 3G ( UMTS ) นั้นคือการนำเอาข้อดีของ ระบบ CDMA มาปรับใช้กับ GSM เรียกว่า W-CDMA ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษัท NTT DoCoMo ของญี่ปุ่นสำหรับเมืองไทยนั้น.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
การสื่อสารข้อมูล.
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 3 อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายและรูปแบบการเชื่อมต่อระบบ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
มาตรฐาน IEEE มาตรฐาน IEEE
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 07 : Windows Movie Maker Part 2 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 7 เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น (LAN)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สินค้าและบริการ.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ประวัติของอีเทอร์เน็ต อีเทอร์เน็ต หรือ IEEE 802.3 อีเทอร์เน็ตทำงานอย่างไร การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต เครือข่ายอีเทอร์เน็ตในรูปแบบอื่นๆ

ประวัติของอีเทอร์เน็ต ราวปี 1973 Robert Metcalfe และบริษัท Xerox ได้พัฒนาเครือข่ายที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานโทโพโลยีแบบ บัส ใช้ชื่อว่า “Ethernet” รากฐานอีเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล Aloha ในการ ติดต่อสื่อสาร ความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลสูงสุดในขณะนั้น เพียงแค่ 3 Mbps เท่านั้น ต่อมาในปี 1979 มีผู้ร่วมลงทุนคือ DIX (Digital Equipment, Intel and Xerox) พัฒนาใช้สายโค แอกเชียล สื่อสารที่ความเร็ว 10 Mbps หลังจากนั้นเครือข่ายอีเทอร์เน็ตได้รับความนิยมไป ทั่วโลก เพราะมีความน่าเชื่อถือสูง สามารถขยับ ขยายได้ต่อเนื่อง ต้นทุนในการติดตั้งต่ำ อุปกรณ์ สามารถหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด

Robert Metcalfe ผู้คิดค้น Ethernet

อีเทอร์เน็ต หรือ IEEE 802.3 ปัจจุบันมาตรฐาน IEEE 802.3 ได้เข้ามาแทนที่ มาตรฐานดั้งเดิมของอีเทอร์เน็ตไปแล้ว การใช้คำว่าอีเทอร์เน็ตและ IEEE 802.3 เป็นคำที่ ใช้แทนความหมายเดียวกันได้ มาตรฐาน IEEE 802.3 มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย ในด้านรายละเอียดเมื่อเทียบกับมาตรฐานอีเทอร์เน็ต ดั้งเดิม

อีเทอร์เน็ตทำงานอย่างไร ความท้าทายของการออกแบบเครือข่ายคือจะต้อง ตัดสินใจว่าจะส่งข้อมูลผ่านสายนำสัญญาณอย่างไร และให้คอมพิวเตอร์รับส่งข้อมูลบนสายที่ใช้ร่วมกัน ได้อย่างไร อีเทอร์เน็ตจะแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนๆเรียกว่าแพ็ค เก็ต ภายในแพ็คเก็ตระบุ แมคแอดเดรส อีเทอร์เน็ตใช้กระบวนการส่งข้อมูลแบบ CSMA/CD

การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต อีเทอร์เน็ตจะใช้วิธีส่งสัญญาณแบบเบสแบนด์ และ ใช้เทคนิค CSMA/CD ในการส่งข้อมูลบนสาย เดียวกัน ความเร็วขั้นต่ำในการส่งข้อมูลอยู่ที่ 10 Mbps สามารถใช้สายได้หลายชนิดในการเชื่อมต่อ รูปแบบการเชื่อมต่ออีเทอร์เน็ต เช่น 10Base5, 10Base2, 10Base-T และ 10Base-F

การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต : 10Base5 อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps ใช้สัญญาณส่งข้อมูลแบบ Baseband ระยะการส่งสูงสุด 500 m/segment ใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา หรือ RG-8 แต่ละโหนดมีระยะห่าง 2.5 เมตรตายตัว ถ้าติดตั้งที่ 2.5 เมตรไม่ได้ก็จะติดตั้งห่างออกไปอีก 2.5 เมตรเป็น ช่วงไปเรื่อยๆ ในหนึ่งเซกเมนต์ต่อได้ไม่เกิน 100 โหนด สามารถ ขยายสูงสุดได้ 5 เซกเมนต์ จัดเป็นรูปแบบดั้งเดิมของเครือข่ายอีเทอร์เน็ต

ตัวอย่างการเชื่อมต่ออีเทอร์เน็ตแบบ 10Base5

การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต : 10Base2 อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps ใช้สัญญาณส่งข้อมูลแบบ Baseband ระยะการส่งสูงสุด 185 m/segment ใช้สายโคแอกเชียลแบบบาง หรือ RG-58 A/U แต่ละโหนดมีระยะห่างเท่าไรก็ได้ แต่ต้องไม่น้อย กว่า 0.5 m. ในหนึ่งเซกเมนต์ต่อได้ไม่เกิน 30 โหนด สามารถ ขยายสูงสุดได้ 5 เซกเมนต์ อุปกรณ์ Tap ที่เชื่อมต่อระหว่างโหนดกับสาย เรียกว่า T-Connector

หัวต่อแบบ BNC และ T-Connector ที่ใช้ในเครือข่าย 10Base2

การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต : 10Base-T อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps ใช้สัญญาณส่งข้อมูลแบบ Baseband ใช้สาย Twisted-Pair แบบ UTP ชนิด CAT5 และใช้คอนเน็คเตอร์ RJ45 ใช้ฮับเป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ Star Bus ระยะการส่งสูงสุดจากฮับไปยังโหนด มีระยะ 100 m ภายในหนึ่งเซ็กเมนต์สามารถเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 1,024 โหนด (ขึ้นอยู่กับฮับ)

ตัวอย่างเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแบบ 10Base-T

การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ต : 10Base-F อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps ใช้สัญญาณส่งข้อมูลแบบ Baseband ใช้สาย Fiber-Optic แบบมัลติโหมด ใช้ฮับเป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อ ระยะการส่งสูงสุดจากฮับไปยังโหนด มีระยะสูงสุด 2 km. สามารถเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 1,024 โหนดต่อฮับ การ์ดเครือข่ายแบบไฟเบอร์ออปติกที่มีคอนเน็คเตอร์คู่

รายละเอียดการเชื่อมต่ออีเทอร์เน็ตตามมาตรฐานต่างๆ Characteristics 10Base5 10Base2 10Base-T 10Base-F Media Thick Coaxial Thin Coaxial UTP 2 Fiber Max Length 500 m 185 m 100 m 2 Km Line Encoding Manchester

เครือข่ายอีเทอร์เน็ตในรูปแบบอื่นๆ การเชื่อมต่อเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแบบ 10Base ทั้งหลายนี้ เป็นอีเทอร์เน็ตแบบดั้งเดิม ซึ่งความเร็ว เพียงแค่ 10 Mbps ไม่เพียงพอต่อความต้องการใน ปัจจุบัน เครือข่ายอีเทอร์เน็ตที่ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและ ความเร็วมากขึ้น ประกอบไปด้วย Switched Ethernet Fast Ethernet Gigabit Ethernet

เครือข่ายอีเทอร์เน็ตในรูปแบบอื่นๆ : Switched Ethernet มีการใช้อุปกรณ์สวิตช์เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ เครือข่ายอีเทอร์เน็ตแบบ 10Base-T ข้อดีของการใช้สวิตช์แทนฮับก็คือ สวิตช์สามารถ นำเฟรมข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางได้เลย ไม่จำเป็นต้องส่งข้อมูลแบบ Broadcast เหมือนฮับ ในกรณีนี้ตามทฤษฎีจะไม่เกิดการชนกันของข้อมูล

ความแตกต่างในการส่งข้อมูลของฮับและสวิตช์

เครือข่ายอีเทอร์เน็ตในรูปแบบอื่นๆ : Fast Ethernet เป็นอีเทอร์เน็ตที่มีความเร็วสูงสุด 100 Mbps โดย คงรูปแบบเฟรมข้อมูลเดิม รวมทั้งวิธีการเข้าถึง สื่อกลางแบบเดิม อยู่ในมาตรฐาน IEEE 802.3u ฟาสต์อีเทอร์เน็ตถูกแบบแบบมาเพื่อการติดตั้ง เครือข่ายบนโทโพโลยีแบบดาวเท่านั้น ซึ่งจะ คล้ายคลึงกับ 10Base-T แต่สามารถใช้ สายสัญญาณต่างกันได้ เช่น UTP ร่วมกับไฟ เบอร์ออปติค

ตารางสรุปรายละเอียดของ Fast Ethernet ในรูปแบบต่างๆ Characteristics 100Base-TX 100Base-FX 100Base-T4 Media CAT5 UTP or STP Fiber Optic CAT4 UTP Max Length 100 m Line Encoding MLT-3 NRZ-I 8B/6T

เครือข่ายอีเทอร์เน็ตในรูปแบบอื่นๆ : Gigabit Ethernet อัตราความเร็วสูงสุด 1 Gbps หรือ 1000 Mbps มีความเข้ากันได้กับเครือข่ายตามมาตรฐานอีเทอร์ เน็ต และฟาสต์อีเทอร์เน็ต ใช้สายไฟเบอร์ออปติคหรือสาย SFP เป็นหลัก เป็นไปตามมาตรฐาน IEEE 802.3z ล่าสุดในปี 2016 มีมาตรฐาน 2.5GBASE-T และ 5GBASE-T ออกมาสำหรับใช้ในสาย Cat5e และ Cat6 แล้ว

ตารางสรุปรายละเอียดของ Gigabit Ethernet ในรูปแบบต่างๆ Characteristics 1000Base-SX 1000Base-LX 1000Base-CX 1000Base-T Media Fiber Short-Wave Fiber Long-Wave STP CAT5 UTP or better Max Length 550 m 5000 m 25 m 100 m Line Encoding NRZ 4D-PAM5

เครือข่ายอีเทอร์เน็ตในรูปแบบอื่นๆ : 10 Gigabit Ethernet อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสุด 10 Gbps เข้ากันได้กับมาตรฐานอีเทอร์เน็ต ฟาสต์อีเทอร์เน็ต และกิกะบิตอีเทอร์เน็ต ทำงานเป็นลักษณะ Full-Duplex บนสายไฟเบอร์ ออปติคเป็นหลัก จึงไม่ต้องการใช้การเข้าถึงสื่อกลางแบบ CSMA/CD อีกต่อไป มีมาตรฐานที่ใช้กับสาย UTP แบบ Cat6a และ Cat7 อีกด้วย แต่ใช้ในระยะทางใกล้ ๆ เท่านั้น รองรับการเชื่อมต่อในระดับ MAN และ WAN ได้

ตารางสรุปรายละเอียดของ 10 Gigabit Ethernet ในรูปแบบต่างๆ Characteristics 10GBase-S 10GBase-L 10GBase-E Media Fiber Short-Wave Multimode Fiber Long-Wave Single Mode Extended Single Mode Max Length 300 m 10 km 40 km