นิพจน์ ตัวแปร และฟังก์ชัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

1 C Programming An Introduction. 2 Preprocessing Directives เขียนได้ 2 รูปแบบ #include คอมไพเลอร์จะทำ การค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ จากไดเร็คทอรีที่ใช้
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
ครั้งที่ 8 Function.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
VARIABLES, EXPRESSION and STATEMENTS. Values and Data Types Value เป็นสิ่งพื้นฐาน มีลักษณะเป็น ตัวอักษร หรือ ตัวเลข อาทิ 2+2 หรือ “Hello world” Value.
Lab Login แล้วดำเนินการดังต่อไปนี้ ที่ home directory สร้าง sub directory ชื่อ Lab01 พิมพ์คำสั่ง cd Lab01 พิมพ์คำสั่ง pwd แล้วกด Enter พิมพ์คำสั่ง.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
ฟังก์ชั่น function.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Functions Standard Library Functions User-defined Functions.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
input from keyboard มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
Java Programming Language สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด โครงสร้างโปรแกรม public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World”);
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
Object and classes.
บทที่ 4 การรับและแสดงผลข้อมูล
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
Basic Elements of Java&WorkShops
Concept of Programing.
Chapter 9 ตัวชี้ pointer.
คอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
ภาษา C เบื้องต้น.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Composite Bodies.
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา (Overview of Java Programming Language)
MATLAB Week 2.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมย่อย.
Quick Python Lecturers : Boontee Kruatrachue Room no Kritawan Siriboon Room no. 913.
บทที่ 2 แนะนำภาษา C Basic C Program
Chapter 2 ตัวดำเนินการ และนิพจน์.
บทที่ 3 โครงสร้างควบคุม Control Structures
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
นิพจน์และตัวดำเนินการ
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Introduction to Computer Programming
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
Lecture 7: ทางเลือกแบบมีโครงสร้างซ้อนใน
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
Quick Python Lecturers : Boontee Kruatrachue Room no Kritawan Siriboon Room no. 913.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิพจน์ ตัวแปร และฟังก์ชัน

เนื้อหา การคำนวณบนคอมพิวเตอร์ นิพจน์ ตัวแปร และลำดับความสำคัญ ประเภทตัวแปร การอ่านข้อมูลเข้า ตัวอย่างการคำนวณอย่างง่าย

Python Shell ใน Wing IDE เครื่องคิดเลข เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคิดเลขได้ พิมพ์ใน Python Shell Python Shell ใน Wing IDE

เครื่องคิดเลข ทดลองพิมพ์ >>> 10 * 5 50 ป้อนลงใน Python Shell >>> 10 * 5 50 >>> 1 + 2 + 3 + 4 10 >>> 1+2+3+4 >>> 1 * 4 + 5 ** 10 9765629 คำตอบที่ได้รับ ช่องว่างไม่มีผล คือการยกกำลัง

นิพจน์ สิ่งที่เราป้อนเข้าไปใน Console ของไพธอนเรียกว่านิพจน์ (expression) ที่ Console เมื่อคอมพิวเตอร์ได้รับนิพจน์จะนำไปประมวลผลโดยการคำนวณ แล้วพิมพ์ผลลัพธ์ออกมา

ทดลองคำนวณ วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต้น 10 เมตรต่อวินาที มีความเร่ง 2 เมตร2/วินาที เมื่อเคลื่อนที่ไป 5 วินาที วัตถุจะอยู่ห่างจากจุดเริ่มต้นกี่เมตร? s = ut + at2/2 10 * 5 + 2 * (5*5) / 2

ตัวดำเนินการ (1) ในการเขียนนิพจน์ ในการคำนวณข้างต้น เราได้ใช้ "ตัวดำเนินการ (Operator)" เช่น +, -, *, / เพื่อนำข้อมูลมาประมวลผล ตัวดำเนินการระบุการประมวลผลที่เกิดขึ้นกับตัวถูกดำเนินการ (Operand) ตัวถูกดำเนินการ 10 * 5 ตัวดำเนินการ

ตัวดำเนินการ (2) ตัวดำเนินการมีทั้งแบบ ทวิภาค (binary) ที่ทำงานกับข้อมูลสองตัว เช่น +, -, * 5 * 3 10 – 2 15*7 เอกภาค (unary) ที่ทำงานกับข้อมูลตัวเดียว เช่น – -3 +2 -5 * 7

ตัวดำเนินการ (3) ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์บางส่วนแสดงดังตารางต่อไปนี้ ความหมาย ตัวอย่าง + บวก 3+5 - ลบ 4-2 * คูณ 4.5*10 / หาร หน้าถัดไป % หารเอาเศษ ** ยกกำลัง 3**4

การหารในไพธอน ตัวดำเนินการหารมีหลัก ๆ สองแบบ หารเอาผลลัพธ์ หารเอาเศษ นิพจน์ ผลลัพธ์ 4/2 2.0 3/2 1.5 10/7 4286 3.0/2 10/7.0 1.4286 นิพจน์ ผลลัพธ์ 4%2 3%2 1 10%7 3 3.0%2 1.0 10%7.0 3.0

ประเภทของจำนวนในไพธอน ข้อมูลประเภทตัวเลขในไพธอนมี 2 แบบคือ จำนวนเต็ม (integer) กับ จำนวนจริง (floating point) จำนวนเต็ม ค่า จำนวนจริง 10 10.0 3-2 1 3.0-2 1.0 19*5 95 19*5.2 98.8

ทดสอบความเข้าใจ นิพจน์ ค่า 2 + 3 * 6 20 (2+3) *6 30 3/5*2 1.2 3*5.0/2 7.5

สรุป: จำนวนเต็ม - จำนวนจริง ถ้าเขียนจำนวนโดยไม่ใส่จุดทศนิยม จะถือว่าเป็นจำนวนเต็ม ผลลัพธ์ การดำเนินการระหว่างจำนวนเต็มกับจำนวนเต็มได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม ยกเว้นการหาร การหารจะให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริง การดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับจำนวนจริง ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริง

3/5*2 การคำนวณทั่วไปจะกระทำจากซ้ายไปขวา ((3/5)*2) ( 0.6 *2)

ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ แต่ตัวดำเนินการมีความสำคัญไม่เท่ากัน เช่น * หรือ / สำคัญกว่า + หรือ - 2+3*6 2+(3*6)

นี่มันก็แค่... คณิตศาสตร์ระดับประถมเท่านั้นเอง!

ความสำคัญของตัวดำเนินการ ลำดับที่ ตัวดำเนินการ ตัวอย่าง 1 () (3+4) 2 ** 2**3 3 -,+ (เอกภาพ) -5, +10 4 *,/,% 3*4, 7%2 5 -,+ 2+7, 3-4 ตัวดำเนินการที่สำคัญเท่ากันจะทำจากซ้ายไปขวา ยกเว้นการยกกำลัง

ทดลองคำนวณ (1) 2+5*6/3+(7-2*3) ผลลัพธ์คือ? 13.0

ทดลองคำนวณ (2) 2 ** 2 ** 3 ผลลัพธ์คือ? 2 ** (2 ** 3) 28 = 256

การคำนวณซ้ำ ๆ ซ้ำ ซ้อน (2.5/2.0)*1*1/2 (2.5/2.0)*5*5/2 ก้อนหินมวล 2 kg เริ่มต้นหยุดนิ่ง มีแรงกระทำไปทางซ้าย 2.5 นิวตั้น อยากทราบว่าที่เวลา 1 วินาที, 5 วินาที และ 15 วินาที ก้อนหินจะอยู่ที่ตำแหน่งใด ซ้ำ ซ้อน (2.5/2.0)*1*1/2 (2.5/2.0)*5*5/2 (2.5/2.0)*15*15/2

ตัวแปร a = 2.5/2.0 a*1*1/2 a 1.25 a*5*5/2 a*15*15/2 เราสามารถใช้ตัวแปรในการอ้างถึงผลลัพธ์จากการคำนวณได้ a = 2.5/2.0 a*1*1/2 a 1.25 a*5*5/2 a*15*15/2

a = 2.5/2.0 ตัวแปร a 1.25 ตัวแปรเป็นสิ่งที่ใช้อ้างถึงข้อมูลต่าง ๆ กำหนดให้ตัวแปรอ้างถึงข้อมูลโดยใช้เครื่องหมาย = หลังจากนั้นเมื่ออ้างตัวแปรก็จะได้ข้อมูลนั้นกลับมา

ตัวแปรเปลี่ยนค่าได้ (1) a = 10 a * 5 b = 3 a + b a = 7 a + b a = b + 5 a a + b 50 13 10 8 11

ตัวแปรเปลี่ยนค่าได้ (2) a = 10 a = a + 1 11

ตัวแปรเปลี่ยนค่าได้ (3) x = 10 x = x * 2 20

ตัวแปรเปลี่ยนค่าได้ (4) x = 10 x = x * 2 + 5 25

การทำงานบน Wing IDE Shell หรือ Console พิมพ์คำสั่งหรือนิพจน์ Python จะคำนวณ แล้วแสดงผลลัพธ์ทันที เมื่อกด Enter

ป้อนโปรแกรมใน WingIDE ส่วนพิมพ์/แก้ไขโปรแกรม คำสั่งในนี้จะถูกทำงานเมื่อสั่ง Run สามารถเขียนและแก้คำสั่ง ได้หลายบรรทัดก่อนสั่งให้ทำงาน

ทดลอง นำไปป้อนใน Wing IDE โปรแกรม โปรแกรมคือรายการของคำสั่งที่เรียงต่อกัน a = 10 b = a + 5 a - b c = 12 b = a + c c = a*b a + b + c 1 + a - c ทดลอง นำไปป้อนใน Wing IDE

ผลลัพธ์คือความว่างเปล่า! เพราะว่าในโปรแกรมยังไม่มีคำสั่งที่สั่งให้แสดงผลลัพธ์ของการคำนวณ

print คำสั่งพิมพ์ ในการพิมพ์ค่าของข้อมูล สามารถใช้ฟังก์ชัน ในการสั่งพิมพ์ได้

เพิ่มคำสั่ง print ให้แสดงผลลัพธ์ ของนิพจน์ที่ต้องการ โปรแกรม โปรแกรมคือรายการของคำสั่งที่เรียงต่อกัน เพิ่มคำสั่ง print ให้แสดงผลลัพธ์ ของนิพจน์ที่ต้องการ a = 10 b = a + 5 print(a – b) c = 12 b = a + c c = a*b print(a + b + c) print(1 + a – c)

เมื่อสั่ง Run จะเห็นผลลัพธ์

อาร์กิวเมนท์ (argument) การเรียกฟังก์ชัน print(10) ชื่อฟังก์ชัน อาร์กิวเมนท์ (argument)

การทำงานในการเรียกฟังก์ชัน print(a + b * 2) 20 สมมติว่า a = 5 b = 10 25 print(25) จะมีการคำนวณนิพจน์ที่ถูกส่งให้กับฟังก์ชันให้เสร็จก่อนส่งค่าไปให้กับฟังก์ชันนั้น

มีเงินรวมทั้งสิ้นกี่บาท? โปรแกรมง่าย ๆ เรามีเงินในกระเป๋าดังนี้ เหรียญบาท 5 เหรียญ เหรียญสิบบาท 7 เหรียญ ธนบัตรใบละ 20 บาท 2 ใบ ธนบัตรใบละ 100 บาท 3 ใบ มีเงินรวมทั้งสิ้นกี่บาท? sum1 = 1 * 5 sum10 = 10 * 7 sum20 = 20 * 2 sum100 = 100 * 3 sum = sum1+sum5+sum20+sum100 print(sum)

โปรแกรมง่าย ๆ (2) หรือสามารถเขียนโดยไม่ต้องใช้ตัวแปร sum ก็ได้ sum1 = 1 * 5 sum10 = 10 * 7 sum20 = 20 * 2 sum100 = 100 * 3 print(sum1+sum5+sum20+sum100)

ชื่อและความหมาย พิจารณาโปรแกรมสองโปรแกรมนี้ a = 1 * 5 b = 10 * 7 c = 20 * 2 d = 100 * 3 e = a + b + c + d print(e) โปรแกรมทั้งสองทำงานเหมือนกัน sum1 = 1 * 5 sum10 = 10 * 7 sum20 = 20 * 2 sum100 = 100 * 3 sum = sum1+sum5+sum20+sum100 print(sum) โปรแกรมใด ที่อ่านแล้วเข้าใจเป้าหมายมากกว่า?

คำแนะนำ เขียนโปรแกรมให้คนอ่าน เพราะอย่างน้อยก็คุณคนหนึ่งนั่นเอง ที่ต้องอ่านโปรแกรมที่คุณเขียน

การใส่หมายเหตุ (#) เพื่อทำให้โปรแกรมอ่านง่ายขึ้น เราสามารถใส่หมายเหตุ (comment) ที่เขียนอธิบายโปรแกรมได้ ทุกอย่างหลังเครื่องหมาย # จะถือว่าเป็นหมายเหตุ

โปรแกรมพร้อมหมายเหตุ # โปรแกรมนี้คำนวณเงินรวม # จากจำนวนธนบัตรประเภทต่างๆ sum1 = 1 * 5 # เงินรวมของธนบัตร 1 บาท sum10 = 10 * 7 sum20 = 20 * 2 sum100 = 100 * 3 print(sum1+sum5+sum20+sum100)

”Hello ข้อมูลประเภทข้อความ ”Hello, world” คอมพิวเตอร์นอกจากจะคำนวณด้านตัวเลขได้แล้ว ยังสามารถประมวลผลข้อมูลแบบอื่น ๆ ได้มากมาย ข้อความ (string) ก็เป็นข้อมูลอีกประเภทหนึ่งที่สามารถประมวลผลได้ สตริงเป็นประเภทข้อมูลสำหรับลำดับของของอักขระ ”Hello ”Hello, world”

การระบุข้อมูลประเภทข้อความ ระบุภายในเครื่องหมายคำพูดคู่ ”Hello” หรือภายในเครื่องหมายคำพูดเดี่ยว ’World’ เครื่องหมายคำพูดที่ใช้จะต้องเปิด-ปิดแบบเดียวกัน นอกจากนี้ยังสามารถใส่เครื่องหมายพิเศษภายในได้โดยขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย \ (ทับกลับข้าง)

ตัวอย่างข้อมูลประเภทข้อความ (1) print("hello") hello print('hello') hello print("I'm 9") I'm 9 print('I'm 9') ผิดพลาด print('I\'m 9') I'm 9 print("I\'m 9") I'm 9

ตัวอย่างข้อมูลประเภทข้อความ (2) print("123") 123 print(123) 123 print("12" + "3") 123 print(12 + 3) 15 print("12" + '3') 123 print("12" + 3) ผิดพลาด

โปรแกรมคำนวณที่ดูดีขึ้น sum1 = 1 * 5 sum10 = 10 * 7 sum20 = 20 * 2 sum100 = 100 * 3 sum = sum1+sum5+sum20+sum100 print("The total is",sum) The total is 415

โปรแกรมคำนวณที่ดูดีขึ้น sum1 = 1 * 5 sum10 = 10 * 7 sum20 = 20 * 2 sum100 = 100 * 3 sum = sum1+sum5+sum20+sum100 print("The total is",sum,"bath.") The total is 415 bath.

ของแถม: print ไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ พิมพ์เสร็จจะขึ้นบรรทัดใหม่ ถ้าต้องการยกเว้นการขึ้นบรรทัดใหม่ ให้ระบุ option end เพิ่มเติม ดังตัวอย่างด้านล่าง print(10) print(20) print(10,end='') print(20) 10 20 1020 ส่วนนี้ระบุให้ฟังก์ชัน print พิมพ์สตริงว่างแทนการขึ้นบรรทัดใหม่ท้ายการพิมพ์

การรับข้อมูลจากผู้ใช้ เราสามารถอ่านข้อมูลจากผู้ใช้โดยใช้ฟังก์ชัน input ฟังก์ชันดังกล่าวจะคืนค่าเป็นข้อมูลประเภท string

ตัวอย่างการใช้งานใน Console >>> name = input() Somchai >>> print("Hello", name) Hello Somchai >>> a = input() 10 >>> b = input() 100 >>> print(a+b) 10100

ข้อสังเกต พิจารณาคำสั่ง print(a+b) เนื่องจากตัวแปร a และ b เก็บข้อมูลประเภท string ที่ได้รับจากฟังก์ชัน input การนำ string มาบวกกันจึงเป็นการนำข้อความมาต่อกันเฉย ๆ

????? แล้วเราจะคำนวณค่าที่ได้รับจากผู้ใช้ได้อย่างไร ในเมื่อข้อมูลที่รับได้มีแค่ข้อมูลประเภทข้อความ (string) เท่านั้น

การแปลงประเภทข้อมูล เรามีฟังก์ชัน int, float, และ str สำหรับแปลงข้อมูลให้เป็นข้อมูลประเภทต่าง ๆ int("10") 10 float("10") 10.0 float(10) 10.0 int(10.6) 10

การแปลงประเภทข้อมูล int("10")+10 float("10")+10 float(10)+int(5) 20 float("10")+10 20.0 float(10)+int(5) 15.0 str(10)+str(5) 105

การแปลงระหว่าง float และ int 10 int(10.9) 10 int(-10.1) -10 ฟังก์ชัน int คืนจำนวนเต็มที่ได้หลังจากการตัดส่วนทศนิยมออก

Conversion between float and int (2) เราสามารถใช้ฟังก์ชัน round ที่ปัดค่าให้เป็นจำนวนเต็มที่ใกล้ที่สุดได้ round(10.2) 10 round(10.9) 11 round(-10.1) -10

ฟังก์ชันที่สำคัญอีกสองฟังก์ชัน ความหมาย abs(x) คืนค่าสัมบูรณ์ของ x pow(x,y) คืนค่า xy

โปรแกรมบวกเลข # This program adds two numbers astr = input() a = int(astr) bstr = input() b = int(bstr) print("The result is",a+b)

การส่งค่าต่อเนื่องในฟังก์ชัน (1) พิจารณาส่วนของโปรแกรม เราใช้ตัวแปร astr เพื่อรับสตริงจากผู้ใช้แล้วนำมาแปลงเป็นจำนวนเต็มเก็บไว้ที่ตัวแปร a เท่านั้น เราสามารถละตัวแปร astr ออกได้โดยเขียนเป็น astr = input() a = int(astr) a = int(input())

การส่งค่าต่อเนื่องในฟังก์ชัน (2) พิจารณาการทำงานของส่วนของโปรแกรม a = int(input()) input() "12345" int 12345 a a = 12345

โปรแกรมคำนวนเงิน (ปรับปรุง) # This program calculates total amount # of money from numbers of bank notes p1 = int(input()) sum1 = 1 * p1 p5 = int(input()) sum5 = 10 * p5 p20 = int(input()) sum20 = 20 * p20 p100 = int(input()) sum100 = 100 * p100 sum = sum1+sum5+sum20+sum100 print("The total is",sum,"bath.")

การระบุข้อความนำ เราสามารถระบุให้ฟังก์ชัน input แสดงข้อความนำก่อนจะอ่านข้อมูลได้ โดยส่งค่าสตริงให้กับฟังก์ชัน input x = int(input("Enter X: ")) print(x+10) Enter X: 100 110

มุมนักคิด มีวัตถุชิ้นหนึ่ง เคลื่อนที่จากสถาพหยุดนิ่งด้วยความเร่ง a m/s2 เป็นเวลา t วินาที เขียนโปรแกรมรับความเร่งและเวลา จากนั้นคำนวณระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้

เฉลย a = float(input("Enter a: ")) t = float(input("Enter t: ")) print("Total distance =", a*t*t/2)

มุมนักคิด: การกระจายหน่วย Enter length in inch: 320 It is 26 feet, 8 inch. x = int(input("Enter length in inch")) xf = int(x/12) xi = x – xf * 12 print("It is", xf, "feet,",xi,"inch.")

คำนวณปริมาตร คำนวณปริมาตรของทรงกระบอก r r2 x h h

3.141592653589793 ค่า  เราสามารถใช้ค่าประมาณ 22/7 เราอาจจะใช้ค่าคงที่ที่ละเอียดกว่าได้ ซึ่งอยู่ในโมดูล math 3.141592653589793

โมดูล math ภาษาไพธอนมีการแบ่งคำสั่งมาตรฐานออกเป็นกลุ่ม ๆ เป็นหมวดหมู่ เรียกว่า โมดูล (module) ก่อนใช้ต้องมีการประกาศขอใช้ก่อน ด้วยคำสั่ง import จากนั้นฟังก์ชัน รวมถึงค่าคงที่ต่าง ๆ ใน โมดูลสามารถเรียกใช้ได้โดยระบุชื่อโมดูลนำหน้า import math print("Pi is", math.pi) 3.141592653589793

มุมนักคิด เขียนโปรแกรมรับค่า r และ h จากนั้นคำนวณปริมาตรของทรงกระบอก r r2 x h h

เฉลย import math r = float(input("Enter r: ")) h = float(input("Enter h: ")) print("Volume =", math.pi*r*r*h)

ฟังก์ชันในโมดูล math ฟังก์ชัน ความหมาย คืนค่าสัมบูรณ์ของ x fabs(x) คืนค่าสัมบูรณ์ของ x sin(x), cos(x), tan(x) ฟังก์ชันตรีโกณมิติของ x (มุมเป็นหน่วยเรเดียล) pi ค่าพาย e ค่า e log(x),log10(x) ค่า log ฐานธรรมชาติ, ค่า log ฐาน 10 exp(x) ค่า ex sqrt(x) รากที่สองของ x

ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชันคณิตศาสตร์ การแตกแรง # อย่าลืม import math # ถ้ามุมเป็นองศา ต้องแปลงก่อน r = t * math.pi/180 fy = f * math.sin(r) fx = f * math.cos(r) # อย่าลืม import math # กรณีมุมเป็นเรเดียล fy = f * math.sin(t) fx = f * math.cos(t) t f