เคมี รหัส ว33221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง Organic chemistry

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 Introduction.
Advertisements

สัปดาห์ที่ ๑๔ เคมีอินทรีย์ Organic Chemistry.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
ชื่อ นาย ศุภสุข โตฟาเละ รหัส 00352
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โครเมี่ยม (Cr).
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
Gas Turbine Power Plant
อีเทอร์และอีพอกไซด์ Ether and Epoxide
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
การจำแนกสารอินทรีย์ ฟังก์ชั่นของสารอินทรีย์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ผู้สอน ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
แบบฝึกหัดที่ 3 ไฮโดรคาร์บอน
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หมู่ฟังก์ชัน.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เคมี รหัส ว33221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง Organic chemistry วิชาเคมี 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่องเคมีอินทรีย์ : บทนำ บทนำ เคมี รหัส ว33221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง Organic chemistry ครูประภากร บุญเสมอ

เนื้อหารายวิชา ว33221 เรื่อง เคมีอินทรีย์ พันธะและโครงสร้างของสารอินทรีย์ ไอโซเมอร์ ชนิดหมู่ฟังก์ชัน และปฏิกิริยาในเคมีอินทรีย์ อัลเคน (alkane) อัลคีน (alkene) อัลไคน์ (alkyne) อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (aromatic hydrocarbon) แอลกอฮอล์ (alcohol) ฟีนอล (Phenol) อีเทอร์ (ether) อัลดีไฮด์ (aldehyde) คีโตน (ketone) กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic) เอมีน (amine) เอไมด์ (amide) บทนำ สารประกอบ HC อนุพันธ์สารประกอบ HC

ความหมายเคมีอินทรีย์ นิยามเก่า “Organic” คือ สารประกอบที่ได้จากสิ่งมีชีวิตทั้งจากพืชและสัตว์ และไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้ “Inorganic” คือ สารประกอบที่ได้จากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แร่ธาตุต่างๆ และสามารถสังเคราะห์ได้โดยมนุษย์ ค.ศ.1828 นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ Friedrich Wohler ค้นพบวิธีการสังเคราะห์ยูเรียโดยการเผา แอมโมเนียมไซยาเนต

R,R’,R’’,R’’’ อาจเป็น H, O, N, S, F, Cl, Br, I ความหมายเคมีอินทรีย์ นิยามใหม่ คือ การศึกษาทางเคมีของสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอน เป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนี้ยังมีธาตุอื่นๆ อีกเช่น ไฮโดรเจน (H), ออกซิเจน (O), ไนโตรเจน (N), ซัลเฟอร์ (S), ฟอสฟอรัส (P) และฮาโลเจน (F, Cl, Br, I) R,R’,R’’,R’’’ อาจเป็น H, O, N, S, F, Cl, Br, I

สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ สารประกอบคาร์บอนบางตัวไม่จัดเป็นสารอินทรีย์ แต่จัดเป็นสารอนินทรีย์ เช่น ออกไซด์ของคาร์บอน CO, CO2 เกลือคาร์บอนเนต(CO32-) และไฮโดรเจนคาร์บอเนต(HCO3-) เกลือคาร์ไบด์: CaC2 เกลือไซยาไนด์(CN-) และไซยาเนต(OCN-) สารประกอบของคาร์บอนบางชนิด: CS2 , CCl4 , COCl2 สารที่ประกอบด้วยคาร์บอนเพียงชนิดเดียว: แกรไฟต์ เพชร ฟูลเลอรีน

ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ส่วนมากละลายน้ำได้ดี การนำไฟฟ้ารูปสารละลาย สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ สมบัติ สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็น C มีธาตุทุกชนิด ชนิดของพันธะเคมี พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก การละลายน้ำ ส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ำ (ยกเว้น Ala, orga a.) ส่วนมากละลายน้ำได้ดี การนำไฟฟ้ารูปสารละลาย ไม่นำไฟฟ้า นำไฟฟ้าได้

สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ สมบัติ สารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ การละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ ละลายได้ดี ไม่ละลาย จุดเดือด-จุดหลอมเหลว ค่อนข้างต่ำ ค่อนข้างสูง การเผาไหม้ ติดไฟง่าย อาจมีเขม่า ติดไฟยาก ใช้ความร้อนสูง อัตราการเกิดปฏิกิริยา เกิดค่อนข้างช้า เกิดเร็ว

ประโยชน์ของสารอินทรีย์ สารอินทรีย์มีความสำคัญทั้งทางชีวภาพ และเศรษฐกิจ เช่น อาหาร คาร์โบไฮเดรต, โปรตีน, ไขมัน, วิตามิน ที่อยู่ ไม้, สีทาบ้าน, ยาง เครื่องนุ่งห่ม ฝ้าย, เส้นใยสังเคราะห์ ยารักษาโรค ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม น้ำมัน, พลาสติก ผลิตภัณฑ์การเกษตร ปุ๋ย, ยาฆ่าแมลง ทำไมสารอินทรีย์มีจำนวนมาก?

ทำไมสารอินทรีย์มีจำนวนมาก ? คาร์บอนสามารถเกิดพันธะโควาเลนต์ระหว่างคาร์บอนกันเองได้ ซึ่งอาจเกิดพันธะเป็นสายโซ่ยาวหรือสั้น กิ่งก้าน หรือเป็นวง คาร์บอนอาจต่อกันด้วยพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามได้ คาร์บอนเกิดพันธะกับอะตอมอื่นได้

พันธะของคาร์บอน

ไฮบริดเซชันของคาร์บอน ไฮบริไดเซชัน(Hybridization) หมายถึง การที่อะตอมมิกออร์บิตอลต่างชนิดกันตั้งแต่ 2 ออร์บิตอลหรือมากกว่า มารวมกันหรือผสมกันเพื่อจัดรูปร่างเกิดเป็น ออร์บิตอลใหม่ที่มีพลังงานเท่าๆกันและรูปร่างเหมือนกัน(เคมีอินทรีย์เบื้องต้น:รศ.รำไพ สิริมนกุล ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง) เช่นการเกิดไฮบริไดเซชันระหว่าง s และ p ออร์บิตอล sp3 ไฮบริไดเซชัน sp2 ไฮบริไดเซชัน sp ไฮบริไดเซชัน

sp3 hybridization ของคาร์บอน เกิดจากอิเล็กตรอนทั้ง 2 ตัวใน 2s orbital กับอิเล็กตรอนทั้ง 2 ตัว ใน p orbital มารวมกันได้ sp3 hybrid orbitals ใหม่ 4 orbitals sp3 Hybrid orbitals ที่เกิดขึ้นนี้มีสมบัติเหมือนกันทุกประการ

ไฮบริดเซชันของคาร์บอน กรณีของมีเธน (Methane) , CH4 โมเลกุลของมีเธนมีรูปทรงเป็น regular tetrahedron

sp2 hybridization ของ คาร์บอน ไฮบริดเซชันของคาร์บอน sp2 hybridization ของ คาร์บอน คาร์บอนอะตอมสามารถ hybridize โดยใช้อิเล็กตรอนบางตัว จึงเกิดทั้ง hybrid orbitals และยังมี p-orbital เหลืออยู่

ไฮบริดเซชันของคาร์บอน sp2 hybrid orbitals ของคาร์บอนจะจับกันเอง ได้พันธะ ซิกม่า p orbitals ที่เหลือของคาร์บอนจะ overlap กัน ได้พันธะไพ เรียกพันธะซิกม่าและพันธะไพรวมกันว่า พันธะคู่ (double bond)

ไฮบริดเซชันของคาร์บอน ตัวอย่างของอัลคีนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ได้แก่ เอธิลีน(ethylene) หรืออีธีน (ethene) มีรูปทรงแบน (planar)

sp hybridization ของ คาร์บอน ไฮบริดเซชันของคาร์บอน sp hybridization ของ คาร์บอน

การเกิด acetylene (HCCH) ไฮบริดเซชันของคาร์บอน การเกิด acetylene (HCCH) พันธะระหว่าง sp orbital กับ sp orbitlals และพันธะ ระหว่าง sp orbital กับ s orbitals ของอะตอม hydrogen จะเป็น sigma bonds ส่วนพันธะระหว่าง p orbitals จะเป็น pi bond overlapping acetylene มีรูปร่างเป็นเส้นตรง

สรุปการไฮบริดไดเซชันชนิดต่างๆของคาร์บอน

สูตรโครงสร้าง สูตรโครงสร้าง หมายถึงสูตรที่แสดงการจัดเรียงอะตอมของธาตุองค์ประกอบที่อยู่ใน 1 โมเลกุลของสารนั้น แบบจุด(electron-dot structure หรือ Lewis’s structure แบบเส้น(dash formula) แบบย่อ(condensed formula) แบบผสม(ผสมระหว่างแบบเส้นและแบบย่อ) แบบ bond-line formula

สูตรโครงสร้าง C3H7OH แบบจุด(electron-dot structure หรือ Lewis’s structure แบบผสม(ผสมระหว่างแบบเส้นและแบบย่อ) แบบย่อ(condensed formula) CH3CH(OH)CH3 แบบเส้น(dash formula) แบบ bond-line formula

แบบจุด (electron-dot หรือ Lewis’s structure) สูตรโครงสร้าง แบบจุด (electron-dot หรือ Lewis’s structure) เขียนแสดงคู่อิเล็กตรอนด้วยจุด 2 จุด สำหรับอะตอม C, N, O, F, Cl, Br เขียนให้ทุกอะตอมมีอิเล็กตรอนวงนอกสุด ล้อมรอบ 8 ตัว (กฏออกเตด) สำหรับอะตอม H มีอิเล็กตรอนล้อมรอบได้แค่ 2 ตัว (duet)

สูตรโครงสร้าง 2 แบบเส้น (dash formula) เขียนขีด (dash) แทนพันธะและใช้จุดแทนอิเล็กตรอนคู่อิสระ หรือ lone-pair electrons อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 1 คู่ เรียกว่า พันธะเดี่ยว ใช้เครื่องหมาย อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 2 คู่ เรียกว่า พันธะคู่ ใช้เครื่องหมาย อิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 3 คู่ เรียกว่า พันธะสาม ใช้เครื่องหมาย

สูตรโครงสร้าง = ลองทำ H2O CH3OH C2H6 C2H4 C2H2

แบบการสร้างพันธะโควาเลนต์ของธาตุพื้นฐาน อะตอมของธาตุใดๆ จะมีพันธะที่แน่นอน เช่น I III IV V VI VII H ต้องจำให้ได้ !

3. แบบย่อ (condensed formula) สูตรโครงสร้าง 3. แบบย่อ (condensed formula) พันธะเดี่ยวระหว่างธาตุ C กับ C ไม่ต้องเขียน พันธะเดี่ยวระหว่างธาตุ C กับ H ไม่ต้องเขียน

สูตรโครงสร้าง H C CH3CH2CH2CH2CH3

วิชาเคมี 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่องเคมีอินทรีย์ : บทนำ สูตรโครงสร้าง (CH3)4C C H CH3-C-CH3 CH3 C(CH3)4 CH3CH(CH3)CH(CH2CH3)CH2CH3 ครูประภากร บุญเสมอ

สูตรโครงสร้าง 4. แบบผสม เขียนผสมกันระหว่าง condensed formula กับ dash formula โดยใช้ขีด - แทนพันธะ

สูตรโครงสร้าง 5. แบบ bond-line formula เขียนโดยใช้เส้นตรงแทนพันธะ โดยเขียนให้หักมุม แต่ละมุมคืออะตอมของคาร์บอนไม่ต้องเขียนอะตอมคาร์บอนและไฮโดรเจนลงไป ให้เขียนแสดงเฉพาะอะตอมอื่นที่ไม่ใช่คาร์บอนกับไฮโดรเจน (hetero atom) หรือ หมู่ฟังชันนัล เท่านั้น

สูตรโครงสร้าง

ไอโซเมอริซึม (Isomerism)  ปรากฏการณ์ที่สารประกอบอินทรีย์มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสมบัติแตกต่างกัน  สารใดที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่สมบัติแตกต่างกัน เรียกว่าเป็น ไอโซเมอร์(Isomer) กัน

โครงสร้างของสารประกอบ ไอโซเมอริซึม (Isomerism) โครงสร้างของสารประกอบ จุดหลอมเหลว (C) จุดเดือด ความหนาแน่น g/cm3 CH3CH2CH2CH3 -138.3 -0.5 0.573 (CH3)3CH -159.4 -11.7 0.551

ไอโซเมอริซึม (Isomerism) วิธีการพิจารณาว่าสารเป็นไอโซเมอร์กันหรือไม่  นับจำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ  สูตรโมเลกุลเหมือน สูตรโครงสร้างต้องต่างกัน CH3(CH2)3CHO and (CH3CH2)2CO and ตำแหน่งคาร์บอนที่เป็นพันธะเดี่ยว สามารถหมุนได้ ตำแหน่งคาร์บอนที่เป็นพันธะคู่,สาม ไม่สามารถหมุนได้

ไอโซเมอริซึม (Isomerism) Structural Isomerism Stereoisomerism Optical Geometrical

Structural Isomerism : ไอโซเมอร์โครงสร้าง คือ สารที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่มีสูตรโครงสร้างต่างกันหรือการต่อเชื่อมระหว่างอะตอมต่างกัน

ไอโซเมอริซึม (Isomerism) Stereoisomerism คือสารที่มีสูตรโครงสร้างเหมือนกันแต่การจัดเรียงอะตอมในระดับ 3 มิติต่างกัน แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. Geometric isomers หรือ cis-trans isomers 2. Optical isomers

ไอโซเมอริซึม (Isomerism) Geometric isomers หรือ cis-trans isomers cis-2-butene trans-2-butene จิโอเมตริกซ์ไอโซเมอร์(Geometric isomers) หมายถึง ไอโซเมอร์ที่มี สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่การจัดอะตอมหรือหมู่อะตอมในที่ว่างต่างกัน จะพบในสารประกอบแอลคีนและสารประกอบที่มีโครงร่างเป็นวง เช่น CH3-CH=CH-CH3

จีโอเมตริกซ์ไอโซเมอร์ E-Z system ไอโซเมอริซึม (Isomerism) จีโอเมตริกซ์ไอโซเมอร์ E-Z system (Z)-2-butene (cis-2-butene) (E)-2-butene (trans-2-butene)

ไอโซเมอริซึม (Isomerism) (E)-2-bromo-1-chloro-1-iodobut-1-ene (Z)-3-tert-butylpenta-1,3-diene

ภาพสะท้อนกระจกเงา (mirror image) ไอโซเมอริซึม (Isomerism) Optical isomers หมายถึงไอโซเมอร์ ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน มีโครงสร้างเป็นเงากระจกกันและกัน แต่โครงสร้างทั้งสองไม่สามารถทับกันอย่างสนิท โมเลกุลทั้งสองเป็น ออปติกัลไอโซเมอร์กัน enantiomer ภาพสะท้อนกระจกเงา (mirror image)

ไอโซเมอริซึม (Isomerism) Chiral สารที่ไม่มีสมมาตร

หมู่ฟังก์ชัน Functional group อะตอม หรือหมู่อะตอม ที่แทนที่ไฮโดรเจนอะตอม ในสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เป็นส่วนแสดงสมบัติเฉพาะตัวของสารประกอบ และเป็นส่วนที่เกิดปฏิกิริยาเคมี CH3OCH3 CH3CH2OH

หมู่ฟังก์ชัน Group Name Group Class example - Alkane CH3CH2CH3 C=C พันธะคู่ระหว่างคาร์บอน Alkene CH3CH=CH2 พันธะสามระหว่างคาร์บอน Alkyne -OH Hydroxyl Alcohol CH3CH2OH Phenol

หมู่ฟังก์ชัน Group Name Group Class example -O- -O-R Oxy Alcoxy Ether CH3OCH3 Carboxyl Carboxylic acid alcoxy carbonyl Ester Carboxaldehyde aldehyde carbonyl Ketone

หมู่ฟังก์ชัน Group Name Group Class example -NH2 Amino Amine CH3NH2 Amide

ประเภทสารอินทรีย์  ใช้หมู่ฟังก์ชันเป็นเกณฑ์ สารอินทรีย์ ไฮโดรคาร์บอน อนุพันธ์ HC. aliphatic HC alicylic HC Aromatic HC อัลเคน อัลคีน อัลไคน์ ไซโคลอัลเคน ไซโคลอัลคีน ไซโลอัลไคน์

ประเภทสารอินทรีย์  ใช้สูตรโครงสร้างเป็นเกณฑ์ สารอินทรีย์ Open chain Closed chain Homocyclic Heterocyclic alicyclic Aromatic

ปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์ ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) ปฏิกิริยาการเพิ่ม (Addition reaction) ปฏิกิริยาการขจัดออก (Elimination reaction)

ปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์ ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) ปฏิกิริยาการแทนที่ หมายถึงปฏิกิริยาที่อะตอม หรือ หมู่อะตอมที่เกาะกับคาร์บอนตัวหนึ่งหลุดออกไปและจะมีอะตอม หรือ หมู่อะตอมชุดใหม่เข้ามาแทนที่

ปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์ ปฏิกิริยาการเพิ่ม (Addition reaction) ปฏิกิริยาการเพิ่ม หมายถึงปฏิกิริยาที่รีเอเจนต์ (Reagent) จะเข้าไปเกาะกับสารตั้งต้น โดยที่สารตั้งต้นไม่สูญเสียอะตอมใดเลย

ปฏิกิริยาเคมีของสารอินทรีย์ ปฏิกิริยาการขจัดออก (Elimination reaction) ปฏิกิริยาการขจัด หมายถึงปฏิกิริยาที่อะตอม หรือ หมู่อะตอม 2 หมู่หลุดออกจากอะตอมสองอะตอมที่อยู่ข้างเคียงกันและเกิดเป็นพันธะคู่ หรือพันธะสามระหว่างอะตอมทั้งสองนั้น

การแตกพันธะ (Bond cleavage) การแตกพันธะแบบโฮโมลิติก (Homolytic cleavage) การแตกพันธะแบบเฮเทโรลิติก (Heterolytic cleavage)

การแตกพันธะ (Bond cleavage) การแตกพันธะแบบโฮโมลิติก (Homolytic cleavage) การแตกพันธะแบบโฮโมลิติก ส่วนใหญ่เกิดกับพันธะโควาเลนต์ โดยที่อิเล็กตรอนคู่ที่อยู่ในพันธะนั้นแยกออกจากกันไปอยู่ที่อะตอมหรือหมู่อะตอมข้างละ 1 ตัว แต่ละข้างที่แตกออกไปเรียกว่า “แรดิคัลอิสระ”(free radical)

การแตกพันธะ (Bond cleavage) การแตกพันธะแบบ เฮเทโรลิติก (Heterolytic cleavage) การแตกพันธะแบบเฮเทอโรลิติก เป็นการแตกพันธะที่อะตอมคู่ร่วมพันธะแยกไปอยู่ที่อะตอมหรือหมู่อะตอมข้างใดข้างหนึ่ง หมู่ที่ได้อิเล็กตรอนคู่จะมีประจุลบเรียกว่า “anion” ส่วนหมู่ที่เสียอิเล็กตรอนจะมีประจุบวกเรียกว่า “cation”

การแตกพันธะ (Bond cleavage) คาร์แบนไอออนและคาร์โบแคทไอออน

รีเอเจนต์ในปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ นิวคลีโอไฟล์ (Nucleophile) คือโมเลกุล อะตอม หรือ หมู่อะตอมที่เป็นไอออนลบ ที่สามารถให้อิเล็กตรอนคู่หนึ่งแก่นิวเคลียสอื่นที่ขาดอิเล็กตรอนเพื่อใช้ในการสร้างพันธะ ได้แก่ H2O NH3 CN- RO- HO- ใช้สัญลักษณ์ Nu: หรือ Nu- อิเล็กโทรไฟล์ (Electrophile) คือโมเลกุล อะตอม หรือ หมู่อะตอมที่เป็นไอออนบวก ที่สามารถรับอิเล็กตรอนเพื่อสร้างพันธะใหม่ได้ ได้แก่ BF3 AlCl3 H3O+ ใช้สัญลักษณ์ E ฟรีแรดิเคิล (Free radical) เป็นตัวทำปฏิกิริยาที่เกิดจากการแตกพันธะแบบโฮโมลิติก ได้แก่ Cl· Br·

รีเอเจนต์ในปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาการแทนที่ด้วยนิวคลีโอไฟล์

กลไกการเกิดปฏิกิริยา การขจัด E1 ขั้น 1 สารตั้งต้นเปลี่ยนเป็น carbocation ขั้น 2 carbocation ให้โปรตอน

กลไกการเกิดปฏิกิริยา การขจัด E2 ปฏิกิริยาชนิดนี้ อะตอม หรือ หมู่อะตอมทั้งสองจะหลุดออกพร้อมๆ กัน

การแทนที่ด้วยนิวคลีโอไฟล์ กลไกการเกิดปฏิกิริยา การแทนที่ด้วยนิวคลีโอไฟล์ Sn1 ขั้น 1 R – L R+ + L- ……เกิดช้า ขั้น 2 R+ + :Nu R – Nu ……เกิดเร็ว Sn2

เนื้อหารายวิชา ว33221 เรื่อง เคมีอินทรีย์ พันธะและโครงสร้างของสารอินทรีย์ ไอโซเมอร์ ชนิดหมู่ฟังก์ชัน และปฏิกิริยาในเคมีอินทรีย์ อัลเคน (alkane) อัลคีน (alkene) อัลไคน์ (alkyne) อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (aromatic hydrocarbon) อัลกอฮอล์ (alcohol) ฟีนอล (Phenol) อีเทอร์ (ether) อัลดีไฮด์ (aldehyde) คีโตน (ketone) กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic) เอมีน (amine) เอไมด์ (amide) บทนำ สารประกอบ HC อนุพันธ์สารประกอบ HC

ประเภทสารประกอบไฮโดรคาร์บอน Hydrocarbon = Hydrogen + Carbon Hydrocarbon แบ่งกลุ่ม 2 ใหญ่ๆ คือ 1. อะลิฟาติก (aliphatic) อัลเคน (Alkane) -C-C- อัลคีน (Alkene) -C=C- อัลไคน์ (Alkyne) -CC- 2. อะโรมาติก (aromatic) Benzene และ อนุพันธ์

Unsaturated (ไม่อิ่มตัว) ประเภทสารประกอบไฮโดรคาร์บอน Hydrocarbon Saturated (อิ่มตัว) Unsaturated (ไม่อิ่มตัว) Alkanes Alkenes Alkynes Arenes Only C-C single bond One or more C-C double bond triple bond One or more benzene ring Class C-C bonding Ex.

Alkane Cycloalkane Alkene Cycloalkene Alkyne Cycloalkyne สารประกอบไฮโดรคาร์บอน Alkane สูตรทั่วไป CnH2n+2 ไม่มีหมู่ฟังก์ชันอื่นๆ Cycloalkane สูตรทั่วไป CnH2n ไม่มีหมู่ฟังก์ชันอื่นๆ เป็นวง Alkene สูตรทั่วไป CnH2n มีหมู่ C=C พันธะคู่ไม่ได้อยู่ในวง Cycloalkene สูตรทั่วไป CnH2n-2 มีหมู่ C=C ในวง Alkyne สูตรทั่วไป CnH2n-2 มีหมู่ CC Cycloalkyne