การค้นคืนสารสนเทศ สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น คืนสารสนเทศ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล 16 กรกฎาคม 2548.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบคำถาม-คำตอบบริการสารสนเทศ
Advertisements

Contents ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลกฎหมาย สำหรับนายอำเภอ
การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ: สถานภาพและบริบทของ สารสนเทศศึกษาในประเทศไทย (Information Storage and Retrieval: A focus on Information Studies in Thailand)
Institute of Physics โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/05/50.
การพัฒนาระบบค้นคืนเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับงานสารบรรณ
บทที่ 5 เทคนิคการค้นหาข้อมูล (Searching Techniques)
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
ปรับปรุงล่าสุด 01/03/50 Classical Music Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรม บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
Chapter 1 Introduction to Information Retrieval For Web mining.
Searching Library Catalog “How-to” guide. Library Catalog คือ ฐานข้อมูล บรรณานุกรม ทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุด ได้แก่ หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย.
(Information Retrieval : IR)
Information & Knowledge Management
กำหนดการเปิดใช้ ระบบทะเบียนและประมวลผล การศึกษา และระบบประเมินการศึกษา สถาบัน พระบรมราชชนก.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การลงใบความเสี่ยง (IR) ใน Hosxp โดยทีมความเสี่ยง โรงพยาบาลควนเนียง.
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง.
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
การฝึกอบรมคืออะไร.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การใช้งานฐานข้อมูล Emerald Insight
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency
Educational Information Technology
ระบบงานสืบค้นสารสนเทศออนไลน์
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
SGS : Secondary Grading System
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
โรงเรียนแพทย์ระดับโลก ที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย และมวลมนุษยชาติ
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
บทที่ 10 การค้นหาข้อมูล (Searching)
2 3 บทที่ ตอนที่ การสืบค้นสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
เจาะลึก google หลักการทำงานของ search engine
การประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Information Retrieval
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
01 การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ พัฒนาการ.
Information Retrieval
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็ม จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2561
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
Information Retrieval
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้นคืนสารสนเทศ สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น คืนสารสนเทศ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล 16 กรกฎาคม 2548

ความเชื่อมโยงระหว่างการจัดเก็บ และการค้นคืน การจัดเก็บเพื่อประโยชน์ของการ ใช้และการเข้าถึงสารสนเทศ การจัดเก็บ มุ่งจัดโครงสร้างในทาง – กายภาพ เช่น รหัสหมวดหมู่ ดรรชนีเชื่อมโยงไปยังที่จัดเก็บ สารสนเทศ ( แฟ้มข้อมูล ) – เนื้อหา เช่น ศัพท์ดรรชนี สาระสังเขป

การค้นคืนและการค้น ( หา ) การค้นคืน (retrieval) เป็น การค้น เพื่อให้ได้ผลการค้นตามต้องการ มุ่งเน้น ที่ผลการค้นเป็นสำคัญ การค้น การค้นหา (searching) เป็น กระบวนการค้น เช่น การค้นจากหนังสือ การค้นจากฐานข้อมูลโดยใช้ชื่อผู้แต่ง ระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval System – ISAR system) ระบบค้นคืน สารสนเทศ (Information Retrieval System – IR system) ระบบจัดเก็บและค้นหาสารสนเทศ ใช้ น้อย ( จากวรรณกรรม )

การค้นคืนสารสนเทศ การค้นคืน วิธีการค้นหาแบ่งออกเป็น –browsing หรือ การสำรวจเลือกดู –searching หรือ analytical search หรือ การค้นด้วยคำหรือ ลักษณะของสารสนเทศ เช่น สี ขนาด จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืน สารสนเทศที่ “ เข้าเรื่อง ” (relevance) หรือ “ ตรงกับความ ต้องการ ” (pertinence)

ความซับซ้อนของการจัดเก็บและ การค้นคืน สารสนเทศ สารสนเทศปริมาณมาก สารสนเทศในรูปแอนะล็อก และ ดิจิทัล สารสนเทศต่างรูปลักษณ์หรือรูปแบบ (format) เช่น เอกสาร บทความ หนังสือ วารสาร แผ่นพับ สารสนเทศต่างประเภท เช่น เสียง ภาพลักษณ์ ภาพกราฟิก และ ข้อความ

ข้อคำถาม มักอยู่ใน รูป คำศัพท์ และ เทคนิค ศัพท์ ดรรชนี แทน สารสนเทศ ที่สะสมไว้ เปรียบเทียบ หรือ จับคู่ ผลการค้นคืน หลักการพื้นฐานของการค้นคืน

ตัวแบบการค้น ตัวแบบการค้น เป็น หลักการหรือ แนวคิดในการพิจารณาการจับคู่หรือ เปรียบเทียบ ระหว่างข้อคำถาม และดรรชนีแทนสารสนเทศที่สะสม ไว้ ให้สามารถค้นคืนสารสนเทศที่ เข้าเรื่องหรือตรงกับความต้องการ ตัวแบบบูเลียน (Boolean model) เป็นการจับคู่แบบตรงกันระหว่าง ศัพท์ดรรชนีและคำค้น

ตัวแบบการค้น (2) ตัวแบบเวกเตอร์ แทนเอกสารและข้อคำถามในรูป เวกเตอร์ ( คณิตศาสตร์ ) โดย กำหนดค่าน้ำหนักของคำ ด้วย ความถี่ของคำที่ปรากฎในเอกสาร และคำที่ปรากฎในฐานข้อมูล ( มวล เอกสาร )

ตัวแบบการค้น (3) ตัวแบบความน่าจะเป็น จัดลำดับเอกสารในมวลทรัพยากร สารสนเทศตามความน่าจะเป็นด้าน ความเข้าเรื่องของแต่ละเอกสารกับ ข้อคำถาม โดยเรียงลำดับจากมาก ไปหาน้อย

การวิจัยและการพัฒนา แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ – เชิงเทคนิค การจับคู่ได้มี ประสิทธิภาพขึ้น การทำดรรชนี หรือสาระสังเขปอัตโนมัติ – เชิงผู้ใช้และการใช้ ไม่มุ่งเน้น เฉพาะการจับคู่หรือเทคนิคเท่านั้น >> ระบบจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศที่มุ่งประโยชน์เพื่อการ จัดเก็บที่มีประสิทธิภาพและการใช้ ที่ตรงตามความต้องการ

ห้องสมุดดิจิทัล องค์ประกอบสำคัญ คือ มวลทรัพยากรในรูปดิจิทัล กระบวนการจัดเก็บ บริการสารสนเทศ ผู้ใช้ เทคโนโลยี

ห้องสมุดดิจิทัล สิ่งพิมพ์วิชาการ : การเผยแพร่และ การเข้าถึง ปัญหาความคงทน การสร้าง URN ที่เข้าถึงได้โดยไม่ ใช้ URL เสถียรภาพ หรือ ความคงที่ การจัดการเวอร์ชัน และ การจัดทำ จดหมายเหตุหรือที่เก็บเอกสารเก่าที่ มีคุณค่า