งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ มูลนิธิสุขภาพภาคใต้ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2 หลักการและเหตุผล โครงการเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ (DHML) มีการขยายให้ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 12 มีศูนย์ประสานงานและจัดการการเรียน (Learning and Coordination Center: LCC) จังหวัดละ 1 แห่ง และสร้างเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพระดับอำเภอที่เข้าร่วมเรียนรู้โครงการ (Learning Team: LT) เพิ่มขึ้น และให้สถาบันการศึกษา (Academic Institution: AI) ได้เข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มขึ้น เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายและการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอไปอย่างมีประสิทธิภาพ บูรณาการนโยบายและการทำงานร่วมกันระหว่างหลายภาคส่วน และสามารถตอบสนองต่อปัญหาของพื้นที่ที่มีความจำเพาะและแตกต่างหลากหลาย ส่งผลให้ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เขตเมืองรวมถึงเขตชนบทมีความเสี่ยงด้านสุขภาพลดลงและมีสุขภาวะที่ดี

3 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอให้สามารถขับเคลื่อนและถอดบทเรียนกระบวนการดำเนินงานของเครือข่ายในพื้นที่ได้ เพื่อพัฒนาระบบบริการแบบบูรณาการที่มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) สาขาต่างๆ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ถึงตติยภูมิ เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินการเพื่อใช้วางแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ในเขตเมืองและเขตชนบทในปี 2561

4 กลุ่มเป้าหมาย เครือข่ายสุขภาพระบบสุขภาพอำเภอ DHS 7 จ. (LCC และ LT)
ผู้รับผิดชอบงานระบบบริการปฐมภูมิของ สสจ. 7 จังหวัด แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขา NCD หัวใจ ไต สถาบันการศึกษา (AI) 7 แห่ง

5 วิธีการดำเนินงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอให้สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานและการถอดบทเรียนในพื้นที่ได้ การถอดบทเรียนการดำเนินงาน การติดตามและถอดบทเรียนการดำเนินงานการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตชนบทและเขตเมืองร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ในพื้นที่ การทำแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการถอดบทเรียน รวมทั้งสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวม เพื่อวางแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ร่วมกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาต่างๆ ในปี 2561

6 การประชุมเชิงปฏิบัติการ

7 การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิร่วมกับ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) NCD หัวใจ ไต

8 การถอดบทเรียน การถอดบทเรียน
เครือข่าย DHS สามารถถอดบทเรียนการทำงานของตนเองแล้วสื่อสารภายในเครือข่ายเพื่อพัฒนาต่อยอดการทำงานและเสริมพลังซึ่งกันและกันและสื่อสารสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนประเด็นในการทำงานได้ หนังสั้น DHS 6 เรื่อง งานเขียนเรื่องเล่าบทเรียน DHS 29 เรื่อง การถอดบทเรียน 4 ประเด็น

9 ความคาดหวัง Service plan: จะบูรณาการในทุกระดับอย่างไร?
697741

10 บูรณาการ สุขภาวะ: กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ
ปัจจัย: พฤติกรรม สังคม สิ่งแวดล้อม ภาคส่วน: รัฐ เอกชน ประชาสังคม บริการสาธารณสุข: ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู กลุ่มเป้าหมาย: บุคคล ครอบครัว ชุมชน

11 สุขภาวะ Health “Health is a state of complete physical, mental and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity.” ~ WHO definition of Health ~

12 ประวัติชีวิตของเด็กชาย VS หญิงชรา Natural History of 2 Lives
อายุหญิงชรา Longevity B ปีสุขภาวะที่เสียไปจากภาวะพิการ Years of living with disability ปีสุขภาวะที่เสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร Years of life lost อายุเด็กชาย Longevity A สุขภาพดี Healthy 10 40 60 70 80 Age เกิด Birth ป่วย: เบาหวาน ความดัน Ill: DM, HT พิการ: อัมพาต Severe disability: Stroke อายุขัยคาดเฉลี่ย Life Expectancy ตายก่อนวัยอันควร Premature death ตายก่อนวัยอันควร Premature death

13 ภาระโรค Burden of Disease
ตาย Death พิการ Disable เจ็บป่วยหนัก Severe illness เจ็บป่วยเล็กน้อย Mild illness ความรุนแรง severity จำนวน Amount

14 ปีที่สูญเสียสุขภาวะ (Disability adjusted life year - DALYs)
ใช้เปรียบเทียบภาระทางสุขภาพระหว่างโรคและการบาดเจ็บต่างๆ เพื่อบอกขนาดปัญหาสุขภาพในภาพรวมของประชากร DALY = YLL +YLD

15 ระดับของโรค Levels of Diseases
ความเจ็บป่วยIllness ความทุกข์ Suffering

16 The Rainbow Model (Dahlgren and Whitehead)

17 Prevention Primary prevention Secondary prevention Tertiary prevention
B C D Age Biological onset: Cancer begins Detectable by screening: Mass 1 cm Symptoms (usual time of Dx): Mass 10 cm Severe illness: Metastasis Death

18 ประชากร (ในพื้นที่) เป้าหมาย (NCD CVD CKD) คัดกรอง (ในชุมชน)
วินิจฉัย (ในรพช.) รักษา (ในบ้าน) ป้องกัน

19 บูรณาการ สุขภาวะ: กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ
ปัจจัย: พฤติกรรม สังคม สิ่งแวดล้อม ภาคส่วน: รัฐ เอกชน ประชาสังคม บริการสาธารณสุข: ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู กลุ่มเป้าหมาย: บุคคล ครอบครัว ชุมชน

20 การทำแผนงานระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ บูรณาการร่วมกับ Service plan NCD หัวใจ ไต
3. ไปยังไง? Strategy 4. ถึงไหนแล้ว? Indicator 2. จะไปไหน? Vision 1. อยู่ที่ไหน? SWOT

21


ดาวน์โหลด ppt โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google